Page 52 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        40

                            จากการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพนั น ในพื นที่ก่อน
                   เข้าร่วมโครงการ หลังการเก็บเกี่ยวของการด าเนินโครงการปีที่ 1 และหลังการเก็บเกี่ยวของการด าเนิน
                   โครงการปีที่ 2 มีแนวโน้มที่มีความสูงดีขึ น ซึ่งสอดคล้องกับการรายงานของยงยุทธ และคณะ (2551) ระบุ

                   ว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเป็นแนวทางหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยลดการสูญเสีย
                   เนื่องจากปุ๋ยอินทรีย์ช่วยดูดซับไอออนที่ปลดปล่อยจากปุ๋ยเคมีและค่อยๆ ปลดปล่อยไอออนหรือธาตุ
                   อาหารให้แก่ต้นข้าวต่อไป และสอดคล้องกับการศึกษาของเกษมสุข (2547) ที่ท าการศึกษาเรื่อง การใช้ปุ๋ย
                   อินทรีย์และปุ๋ยเคมีในการจัดการดินในกลุ่มชุดดินที่ 4 ชุดดินราชบุรี ส าหรับปลูกข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1

                   พบว่า การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และการใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับการใช้น  าหมักชีวภาพ ไม่มีผล
                   แตกต่างอย่างเด่นชัดต่อการเปลี่ยนแปลงผลผลิตข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 แต่มีผลแตกต่างอย่างเด่นชัดต่อ
                   การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของผลผลิต คือ ความสูงจ านวนต้น จ านวนรวง จ านวนเมล็ดต่อรวง และ

                   น  าหนักเมล็ด 100 เมล็ด โดยพบว่าการใช้ปอเทืองร่วมกับน  าหมักชีวภาพในอัตรา 10 ลิตรต่อไร่ ให้
                   ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 566 บาทต่อไร่ ส่วนการใช้ปอเทืองร่วมกับน  าหมักชีวภาพ
                   อัตรา 25 ลิตรต่อไร่ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ยต่ าสุดเท่ากับ 259.12 บาทต่อไร่
                          4.2.2 ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105
                                  หลังจากการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพในนา

                   ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งได้ผลการศึกษาในเรื่องของผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ดังตารางที่ 7 ในพื นที่
                   ของเกษตรกรจ านวน 75 ราย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการเกษตรกรได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105
                   ระหว่าง 230-390 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 1 ได้ผลผลิตข้าวขาวดอก

                   มะลิ 105 ระหว่าง 230-410 กิโลกรัมต่อไร่ และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 2 ได้ผลผลิตข้าว
                   ขาวดอกมะลิ 105 ระหว่าง 232- 430 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อคิดเป็นค่าเฉลี่ยของผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ
                   105 พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการเกษตรกรได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เฉลี่ยเท่ากับ 363 กิโลกรัมต่อ
                   ไร่ ส่วนพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 1 ได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เฉลี่ยเท่ากับ 379

                   กิโลกรัมต่อไร่ และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 2 ได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เฉลี่ย
                   เท่ากับ 401 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อเปรียบเทียบแล้วเกษตรกรได้ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพิ่มขึ นเรื่อยๆ
                   ทุกปี
                                  เมื่อท าการเปรียบเทียบผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 (กิโลกรัมต่อไร่) พบว่า พื นที่ของ

                   เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ นอย่างมี
                   นัยส าคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ
                   105 ปีที่ 1 และพื นที่ของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกร ตามล าดับ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57