Page 40 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        28

                          4.1.2 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (เปอร์เซ็นต์)
                                  จากการวิเคราะห์ค่าปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (เปอร์เซ็นต์) ดังตารางที่ 3 ในพื นที่ของ
                   เกษตรกรจ านวน 75 ราย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกรมีปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่

                   ระหว่าง 0.09-1.37 เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับต่ ามากถึงต่ า ส่วนพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลัง
                   การเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 มีค่าปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ระหว่าง 0.21-1.41
                   เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับต่ ามากถึงต่ า และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
                   ขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ระหว่าง 0.25-1.46 เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับ

                   ต่ ามากถึงต่ า และเมื่อคิดเป็นค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณอินทรียวัตถุในดิน พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่
                   ของเกษตรกรมีค่าปริมาณอินทรียวัตถุเฉลี่ยเท่ากับ 0.52 เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับต่ ามาก ส่วนพื นที่ของ
                   เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 มีค่าปริมาณอินทรียวัตถุเฉลี่ย

                   เท่ากับ 0.65 เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับต่ ามาก และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บ
                   เกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าปริมาณอินทรียวัตถุเฉลี่ยเท่ากับ 0.78 เปอร์เซ็นต์ จัดอยู่ในระดับต่ า
                   มาก
                                  เมื่อท าการเปรียบเทียบค่าปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (เปอร์เซ็นต์) พบว่า พื นที่ของ
                   เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ นอย่างมี

                   นัยส าคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ
                   105 ปีที่ 1 และพื นที่ของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกร ตามล าดับ ค่าปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดินโดยส่วนมากจัดอยู่ในระดับต่ ามาก เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยแล้วดินมีปริมาณอินทรียวัตถุ

                   ในระดับต่ ามากเช่นกันแต่มีแนวโน้มที่มีปริมาณอินทรียวัตถุที่ดีขึ น เนื่องจากการใส่ปุ๋ยพืชสดเป็นปุ๋ยอินทรีย์
                   ที่ได้จากการตัดสับหรือไถกลบลงไปในดินในขณะที่พืชยังเขียวสดอยู่ในช่วงที่พืชออกดอก แล้วปล่อยให้เกิด
                   การย่อยสลายจะสามารถเพิ่มธาตุอาหารพืชและปริมาณอินทรียวัตถุแก่ดินได้ (สุริยา, 2549) และถ้ามีการ
                   ไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพอย่างต่อเนื่องไปทุกๆ ปี จะท าให้

                   ดินมีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช สามารถเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน และเมื่อมีการสลายตัว
                   สมบูรณ์แล้วยังรักษาปรับปรุงโครงสร้างของดินให้มีสภาพเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต ท าให้ดินเกาะตัว
                   กัน อุ้มน  าดีขึ น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45