Page 9 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อโครงการ การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามส าหรับให้ค าแนะน า
ปุ๋ยในการปลูกผัก ในพื้นที่โครงการหลวง
The Use of LDD Test Kit for Chemical Fertilizer
Recommendation for Vegetable at Royal Project
ทะเบียนวิจัยเลขที่ 56 58 01 99 021603 018 026 01 11
กลุ่มชุดดินที่/ชุดดิน กลุ่มชุดดินที่ 62
ผู้ด าเนินการ นาย ปริวัตร ศรีค ามูล Mr. Pariwat Sricommul
ผู้ร่วมด าเนินการ นายอภินันท์ กาวิโล Mr. Apinan Gavilo
นางสาวสลิลรัตน์ วิชัยพานิช Miss Salinrat Wichaipanich
บทคัดย่อ
การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามส าหรับให้ค าแนะน าปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่
โครงการหลวงได้ท าการทดลองในการปลูกผักกาดหวานในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งหลวง
อ าเภอแม่วาง จัวหวัดเชียงใหม่ ด าเนินการในปี พ.ศ. 2556-2558 รวมระยะเวลา 3 ปี โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการก าหนดอัตราการใส่ปุ๋ยเคมีให้สอดคล้องกับคุณภาพดิน
และความต้องการธาตุอาหารของพืชผักและเพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดตรวจดินภาคสนามของ
กรมพัฒนาที่ดินในการให้ค าแนะน าการใส่ปุ๋ยเคมีส าหรับการปลูกพืชผักในพื้นที่โครงการหลวง รวมไป
ถึงการศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการใช้ชุดตรวจดินภาคสนามในการให้ค าแนะน าการ ใส่
ปุ๋ยเคมีส าหรับการปลูกพืชผักในพื้นที่โครงการหลวง โดยท าการทดลองในปี พ.ศ. 2556 และพ.ศ.
2557 ท าการทดลองภายในโรงเรือนปลูกผักของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งหลวงใช้แผนการทดลอง
แบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อค จ านวน 4 ซ้ า 6 ต ารับการทดลอง ซึ่งประกอบไปด้วย ต ารับที่ 1 ไม่ใส่ปุ๋ยทุก
ชนิด ต ารับที่ 2 ใส่ปุ๋ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ ต ารับที่ 3 ใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าจาก
คู่มือการปลูกผักบนพื้นที่สูง ต ารับที่ 4 ประเมินอัตราการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน จากปริมาณ ไนโตรเจนจาก
ค่าวิเคราะห์อินทรียวัตถุ ปริมาณไนโตรเจนที่ปลดปล่อยจากอินทรียวัตถุตลอดช่วงเวลาของการ
เพาะปลูก ความต้องการไนโตรเจนของผักกาดหวานเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวังโดยถือว่าพืชมี
ประสิทธิภาพในการดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ยไนโตรเจนที่ใส่ลงไปในดิน 50 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการใส่ปุ๋ย
ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมประเมินจากปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่
แลกเปลี่ยนได้ของดินซึ่งได้จากค่าวิเคราะห์ดินในช่วงก่อนการเพาะปลูก โดยจะใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและ
โปแตสเซียม ถ้าค่าวิเคราะห์ดินต่ ากว่าค่าวิกฤตในปริมาณที่ท าให้ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และ
โปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินเพิ่มขึ้นจนถึงจุดวิกฤต โดยปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์มีค่า