Page 18 - การประยุกต์ใช้ข้อมูลกลุ่มชุดดิน และข้อมูลการใช้ที่ดินสำหรับให้บริการบนแอปพลิเคชันสารสนเทศทรัพยากรดินรายจังหวัด
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
8
3) รูปแบบพื้นที่ (Polygon features) เป็นข้อมูลที่มีระยะและทิศทางระหว่าง
จุดเริ่มต้น จุดแนวทาง (Vector) และจุดสิ้นสุด ที่ประกอบกันเป็นรูปหลายเหลี่ยมมีขนาดพื้นที่ (Area) และ
เส้นรอบรูป (Perimeter) เช่น พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติ อ่างเก็บน้ า เป็นต้น
ภาพที่ 2-3 ข้อมูลในรูปแบบพื้นที่
ข้อมูลเวกเตอร์เหมือนกับข้อมูลประเภทอื่นๆ ที่มีจุดเด่นและจุดด้อย ผู้ใช้งานจ าเป็นต้อง
เข้าใจถึงจุดเด่นและจุดด้อย เพื่อให้การใช้งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จุดเด่นและจุดด้อยของข้อมูล
แบบ Vector แสดงดังตาราง 2-1
ตาราง 2-1 ตารางแสดงจุดเด่น จุดด้อย ของข้อมูลแบบเวกเตอร์
จุดเด่น จุดด้อย
1) แสดงโครงสร้างข้อมูลเชิงปรากฏการณ์ได้ดี 1) โครงสร้างข้อมูลซับซ้อน
เหมาะ ส าหรับใช้แทนลักษณะของพื้นที่จึงมี
ขอบเขตคดโค้งท าให้สามารถแบ่งขอบเขตของ
พื้นที่ได้อย่างชัดเจน
2) โครงสร้างข้อมูลกะทัดรัด ไฟล์ข้อมูลมีขนาดเล็ก 2) การรวมแผนที่แบบเวกเตอร์หลายๆ แผ่นหรือ
จึงใช้พื้นที่ส าหรับการจัดเก็บน้อย รวมแผนที่เวกเตอร์ กับ ราสเตอร์ ด้วยวิธีวาง
ซ้อนมีความยุ่งยากมาก
3) ความเชื่อมโยงทางโทโพโลยี (Topology) 3) การทดสอบด้วยการจ าลองสถานการณ์ท าได้
สามารถท าได้ครบถ้วนด้วยการเชื่อมโยงแบบ ยาก เพราะแต่ละหน่วยของแผนที่มีโครงสร้างที่
เครือข่าย ต่างกัน
4) มีความถูกต้องในเชิงกราฟิก ซึ่งสามารถแทน 4) การแสดงและการเขียนเป็นแผนที่เสีย
ข้อมูลได้อย่างมีความแม่นย าเชิงต าแหน่ง ค่าใช้จ่ายสูง โดยเฉพาะเมื่อต้องการแสดงสีและ
สัญลักษณ์ที่มีคุณภาพสูง
5) สามารถท าการค้นคืน การแก้ไข ข้อมูลกราฟิก 5) เทคโนโลยีชนิดนี้มีราคาแพง โดยเฉพาะถ้า
และลักษณะประจ าได้ ต้องใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่มีความซับซ้อน
6) การวิเคราะห์พื้นที่และการกรองรายละเอียด
ภายในรูปหลายเหลี่ยมเกือบเป็นไปไม่ได้
2.2.1.2 ข้อมูลราสเตอร์ (Raster) หรือข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบกริด (Grid data) คือ ข้อมูล
ที่มีโครงสร้างเป็นช่องเหลี่ยม เรียกว่า จุดภาพ หรือกริดเซลล์ (Grid cell) เรียงต่อเนื่องกันในแนวราบและ
แนวดิ่ง ในแต่ละจุดภาพสามารถเก็บค่าได้ 1 ค่า มีค่าทั้งหมด 256 ค่า มีค่าตั้งแต่ 0-255 ค่า (8 Bit)