Page 86 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          58

                  อินทรียวัตถุในดิน โดยอินทรียวัตถุในดินมีความสัมพันธทางบวกกับความชื้นในดิน (r =0.63) จุฑามาศ (2557)
                  รายงานวาการปลูกพืชแบบผสมผสาน และแบบพืชรวมในสวนยางพาราความชื้นในดินมีความสัมพันธกับ

                  อนุภาคในดินทั้งอนุภาคปฐมภูมิและสมบัติของดิน โดยมีความสัมพันธกับปริมาณอนุภาคขนาดทรายแปง
                  (r = 0.78) ความหนาแนนรวม ของดิน (r = -0.66) อนุภาคขนาดทราย (r = -0.61) และพบความสัมพันธกับปริมาณ
                  อินทรียวัตถุของดิน (r = 0.52)
                        3.4 ปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดิน

                            การศึกษาปริมาณธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินมีความสัมพันธกับน้ําหนักใบหญาแฝก
                  ในทางบวก (r = 0.49**) สวนปริมาณฟอสฟอรัสในดินมีความสัมพันธกับมวลชีวภาพใบพืชคลุมดินในทางลบ
                  (r = -0.50**) สําหรับปริมาณโพแทสเซียมในดินมีความสัมพันธนอยมากกับน้ําหนักใบ รากของหญาแฝก (r=-
                                                        ns
                                 ns
                  0.003 ) (r=0.12 ) และพืชคลุมดิน (r=-0.21 ) อาจเพราะหญาแฝกและพืชคลุมดินชวงการเจริญเติบโตของ
                       ns
                  พืชจะดึงฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในดินนํามาใช หรือติดไปกับสวนของพืชที่เอาออกไปจากดิน อาจจะถูก
                  ตรึงอยูในดินยากที่พืชจะนําไปใชประโยชน จุลินทรียดินมีบทบาทสําคัญทําใหเกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหาร
                  ในดิน ฟอสฟอรัส และธาตุอื่น ๆ จุลินทรียบริเวณรากหญาแฝกทําหนาที่ยอยสลาย และแปรสภาพสารประกอบ
                  อินทรียในดินและชิ้นสวนของเศษซากพืชใหอยูในรูปที่เปนประโยชนตอพืช Leaungvutiviroj et al. (2010)

                  รายงานการวิเคราะหสหสัมพันธระหวางจุลินทรียกับสมบัติของดินบริเวณรากหญาแฝกที่ปลูกในพื้นที่มีปญหา
                  ไดแก ดินตื้น ดินเปรี้ยว และดินเค็ม ระบบรากหญาแฝกชวยสงเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มปริมาณจุลินทรียที่
                  เปนประโยชนในดิน และพบวาดินที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร แบคทีเรียละลายฟอสเฟต  และเชื้อรา

                  อารบัสคูลารไมคอรไรซามีความสัมพันธกับปริมาณธาตุอาหารในดิน อินทรียวัตถุ ความชื้นในดิน ซึ่งจะสงผลถึง
                  ความอุดมสมบูรณของดิน และการหมุนเวียนธาตุอาหาร
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91