Page 85 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 85

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          57

                  หญาแฝกนอกจากมีลิกนินแลวยังมีพวกเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส เปนองคประกอบที่สําคัญ จากวัดการสั่นของ
                  โมเลกุลภายในหญาแฝกเมื่อกระทบกับแสงผานอินฟราเรดหญาแฝกมีเซลลูโลสเปนองคประกอบที่ชัดเจนขึ้น

                  (วิมลรัตน, 2561) ทําใหใบหญาแฝกเหมาะสมตอการคลุมดินเพื่อรักษาสภาพความชื้นในดินไดดี นอกจากนี้
                  ปริมาณน้ําในดิน หรือความชื้นในดินที่เหมาะสมจะสงผลตอกิจกรรมของจุลินทรียทําใหเกิดการยอยสลายไดเร็ว
                  ยิ่งขึ้น และปริมาณความชื้นในดินจะมีความสัมพันธทางลบกับความหนาแนนรวมของดิน (r =-0.70**) สอดคลอง
                  กับปรินทร และคณะ, 2561 รายงานวาปริมาณน้ําฝนและความชื้นในดินมีผลตอการยอยสลายเศษซากพืชสูง

                  เนื่องจากเกิดการผุพังและการชะลางเศษซากใบยางพารา โดยความชื้นในดินมีความสัมพันธกับการยอยสลาย
                  ของใบยางพารา  ซึ่งการยอยสลายของเศษซากพืชเกิดจากจุลินทรียและสิ่งมีชีวิตในดินเพิ่มขึ้นเกิดการ
                  หมุนเวียนธาตุอาหารในดินเพื่อฟนฟูดานความอุดมสมบูรณของดิน ถาโครงสรางของดินมีความเสถียรจะชวย
                  เพิ่มการซาบซึมน้ําของดิน นอกจากนี้อินทรียวัตถุยังสามารถอุมน้ําไดสูงถึง 20 เทาของน้ําหนักตัว จึงชวยในการ

                  เก็บกักน้ําไดมาก (Magdoff and Weil, 2004 อางใน วรรธนัย, 2552)  ถนอม และปนเพชร (2550) รายงาน
                  วาการอัดตัวของดินในชุดดินหางดง ชุดดินสันทราย และชุดดินสันปาตอง การอัดตัวของดินจะวัดจากคาแรง
                  ตานของดินจะบงบอกถึงโครงสรางของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุ ความชื้น และความหนาแนนรวมของดิน โดย
                  ปริมาณความชื้นดินมีความสัมพันธเชิงลบกับความหนาแนนรวมของดิน ซึ่งถามีกิจกรรมทําใหอัดตัวของดินมาก

                  ความหนาแนนรวมของดินก็จะสูง สงผลใหปริมาณความชื้นในดินต่ํา ประกอบกับดินที่ใชในการศึกษาเปนดินที่
                  มีเนื้อละเอียดยิ่งสงผลใหสามารถรักษาความชื้นไวในดินไดสูงกวาดินทั่วไปดวย น้ําหนักใบของพืชคลุมดินมี
                  ความสัมพันธกับความปริมาณความชื้นในดินทางลบ (r=-0.92) เนื่องจากพืชคลุมดินมีปริมาณน้ําหนักใบนอย

                  และพืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด ไมมีการไถกลบ นอกจากนี้เศษซากของพืชที่คลุมดินที่รวงหลนลงดินอาจไมเพียงพอ
                  ในการทํากิจกรรมของสิ่งมีชีวิต จึงไมมีผลตอโครงสรางของดิน และความอุดมสมบูรณของดิน
                        3.3 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                             จากผลการศึกษาปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีความสัมพันธกับมวลชีวภาพน้ําหนักรากของหญาแฝก
                  ในทางบวก (r = 0.61**)  ผลนี้สะทอนใหเห็นวา มวลชีวภาพใบมีปริมาณมากขึ้นมีการทับถมบนผิวดิน และเกิด

                  การยอยสลายผานกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดินภายใตสภาพแวดลอมและปจจัยที่เหมาะสมเกี่ยวกับอากาศในดิน
                  ความชื้นในดิน อุณหภูมิของดิน และความเปนกรดเปนดางของดิน สวนปริมาณอินทรียวัตถุมีความสัมพันธกับ
                  น้ําหนักใบหญาแฝก (r = 0.46**) มวลชีวภาพรากของหญาแฝกที่แกเกิดการยอยสลายเนาเปอยผุผัง สงเสริม

                  ชวยทําใหโครงสรางดินรวนซุยขึ้น ทําใหปริมาณอินทรียวัตถุในดินเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่
                  เพิ่มขึ้นอยูองคประกอบทางเคมีของมวลชีวภาพชนิดพืชที่มีผลตอการสลายตัวใหอินทรียวัตถุสูดิน ซึ่งใบหญา
                  แฝกมีองคประกอบเยื่อใยลิกนิน เซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลสสูง คือพันธุสงขลา 3 พันธุศรีลังกา พันธุสุราษฎรธานี
                  พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุนครสวรรค (วารุณี, มปป.) จึงเกิดการยอยสลายชาจึงเหลือตกคางในดินกลายเปน

                  อินทรียวัตถุ อยางไรก็ตามหญาแฝกพันธุราชบุรีใหมวลชีวภาพใบและรากมากแตอาจมีองคประกอบของ
                  เซลลูโลสนอย และมีองค ประกอบในผนังเซลลของพืชที่ยอยงายเชนเฮมิเซลลูโลสที่เปนคารโบไฮเดรตทําใหเกิด
                  การยอยสลายเร็วสงผลใหอินทรียวัตถุนอย อรรณพ และคณะ (2555) รายงานวาการสะสมของอินทรียวัตถุใน
                  ดินโดยประเมินจากปริมาณอินทรียคารบอนในดินมีสหสัมพันธในทางบวกกับปริมาณคารบอน (r= 0.629*) ใน

                  สารอินทรีย (เชน ใบมะขาม ใบพลวง ซากถั่วลิสง และฟางขาว) และปริมาณไนโตรเจนมีสหสัมพันธสูงใน
                  ทางบวกกับปริมาณไนโตรเจน (r= 0.630*) ในสารอินทรีย และเมื่อเศษซากใบหญาแฝก พืชคลุมดิน ที่ไดจาก
                  การตัดใบหรือการรวงหลน (leaf litter fall) ทับถมของชั้นอินทรียวัตถุที่ผิวดินนั้น สงผลตอการเพิ่มปริมาณ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90