Page 91 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       61



                       บวก (r = 0.46** และ r = 0.61** ) สําหรับสมบัติทางกายภาพและทางเคมีดินไมมีความสัมพันธกับ
                       พืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด

                                                           ขอเสนอแนะ

                            1. ควรมีการศึกษาพันธุหญาแฝกที่เหมาะสมกับการรักษาความชื้นในพื้นที่ปลูกผัก พืชไร ไมผล
                       และไมยืนตนในชุดดินวังสะพุงเพิ่มเติม เพื่อดูเรื่องพันธุหญาแฝกที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการ
                       รักษาปริมาณความชื้นในดิน
                            2. ควรมีการศึกษาชุดดินอื่นในกลุมดินชนิดเดียวกันเพื่อยืนยันเรื่องพันธุหญาแฝกที่นําไปสงเสริม

                            3. ควรมีการศึกษาทางกายภาพของดินเพิ่มเติมจากอิทธิพลของการปลูกหญาแฝกที่มีระบบราก
                       ลึก เชน การแทรกซึมของน้ําในดิน  การเสถียรภาพของเม็ดดิน

                                                         ประโยชนที่ไดรับ

                            1.ไดพันธุหญาแฝกที่เหมาะสมเพื่อปลูกในชุดดินวังสะพุง จังหวัดนครราชสีมา ไดแก  หญาแฝก
                       ดอนพันธุราชบุรี พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุรอยเอ็ด และหญาแฝกลุมพันธุศรีลังกา เนื่องจากการ
                       เจริญเติบโตดี ใหมวลชีวภาพสูง  หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ดเหมาะสมปลูกรวมกับพืชที่มีระบบรากตื้น

                       เชนพืชผักและปลูกพืชไร หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 เหมาะสมกับปลูกหญาแฝกรวมกับพื้นที่ปลูก
                       ไมผลและไมยืนตน ที่มีระบบรากลึก
                            2. ไดขอมูลความชื้นในดินทุกระดับความลึกที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการใชประโยชนหญาแฝก
                       ในการรักษาความชื้น เนื่องจากขอมูลที่ไดแสดงใหเห็นวารากหญาแฝก และการตัดใบหญาแฝกมี
                       ศักยภาพในการกักเก็บความชื้นในดินทุกระดับความลึก ซึ่งใชเปนฐานขอมูลที่สําคัญเพื่อใหผูสนใจ

                       นําไปใชประโยชนตอไป
                            3. เปนการยืนยันวาการตัดใบหญาแฝกคลุมดินสามารถเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน  และปริมาณ
                       ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินเพิ่มขึ้น และสงผลใหความหนาแนนรวมของดินลดลง ความชื้นในดิน

                       เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะดินที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96