Page 90 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       60



                                                              สรุป
                            1. มวลชีวภาพ น้ําหนักใบหญาแฝกมากกวาพืชคลุมดิน และมวลชีวภาพน้ําหนักใบหญาแฝกดอน
                       สูงกวาหญาแฝกลุม โดยปที่ 1 หญาแฝกดอนพันธุราชบุรี มีน้ําหนักใบสูงสุดเทากับ 1,389.65 กิโลกรัม
                       ตอไรตอป ปที่ 2 หญาแฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธ มีน้ําหนักใบสูงสุดเทากับ 1,268.17 กิโลกรัมตอ

                       ไรตอป รวม 2 ป (มีการตัดใบ 6 ครั้ง) หญาแฝกดอนใหน้ําหนักใบเฉลี่ยสูงที่สุด 1898.05 กิโลกรัมตอ
                       ไร สูงกวาหญาแฝกลุมน้ําหนักใบเฉลี่ย 1685.87 กิโลกรัมตอไร พืชคลุมดินใหน้ําหนักใบต่ําสุดเทากับ
                       1303.04 กิโลกรัมตอไร หญาแฝกดอนพันธุราชบุรีใหน้ําหนักใบสูงที่สุดเทากับ 2395.09 กิโลกรัมตอไร
                       หญาแฝกลุมพันธุสุราษฎรธานีใหน้ําหนักใบสูงสุดเทากับ 2206.25 กิโลกรัมตอไร มวลชีวภาพรากหญา

                       แฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีมวลชีวภาพเฉลี่ยสูงที่สุดเทากับ 223.34 กิโลกรัมตอไร เมื่ออายุ 48 เดือน
                       การเจริญเติบโตดานความยาวใบกลุมหญาแฝกดอนมีความยาวใบสูงกวากลุมหญาแฝกลุม โดยหญา
                       แฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธมีความยาวใบเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 129.33 เซนติเมตร ถั่วปนโตมีความ
                       ยาวเถาเทากับ 82.67 เซนติเมตร และถั่วเวอราโนมีความสูงตน เทากับ 53.67 เซนติเมตร ดานความ

                       ยาวราก หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีความยาวรากสูงที่สุดเทากับ 51.67 เซนติเมตร
                            2. การสะสมปริมาณธาตุอาหารในใบของหญาแฝกมีปริมาณโพแทสเซียมสะสมในใบมากกวาพืช
                       คลุมดิน หญาแฝกลุมพันธุสุราษฎรธานีมีปริมาณธาตุอาหารโพแทสเซียมสูงที่สุดเทากับ 9.90 กิโลกรัม

                       ตอไรตอป พืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณไนโตรเจน และฟอสฟอรัสสะสมในใบมากกวาหญาแฝก
                       ถั่วเวอราโนมีปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจนสูงที่สุดเทากับ 10.14 กิโลกรัมตอไรตอป ปริมาณธาตุ
                       อาหารฟอสฟอรัสเทากับ 1.01 กิโลกรัมตอไรตอป
                            3. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน แปลงที่ปลูกหญาแฝก พืชคลุมดิน มีการสะสม
                       ปริมาณอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้น โดยแปลงหญาแฝกลุมพันธุศรีลังกาจะมีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                       เฉลี่ยมากที่สุด เทากับ 2.94 เปอรเซ็นต ทุกตํารับการทดลองมีคาความเปนกรดเปนดางเพิ่มขึ้นกอน
                       การปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน โดยดินแปลงหญาแฝกลุมพันธุพระราชทานมีความเปนกรดเปนดาง
                       สูงสุดเฉลี่ย 7.65 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนทุกตํารับการทดลองมีปริมาณฟอสฟอรัสเฉลี่ย

                       ลดลงกวากอนการปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน โดยดินแปลงหญาแฝกลุมพันธุตรัง 2 มีฟอสฟอรัส
                       เฉลี่ยสูงที่สุดเทากับ 4.37 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนทุกตํารับการ
                       ทดลองมีปริมาณโพแทสเซียมลดลงกวากอนการปลูกหญาแฝกและพืชคลุมดิน โดยดินแปลงหญาแฝก
                       ดอนพันธุรอยเอ็ดมีปริมาณโพแทสเซียมเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 445 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม สําหรับการ

                       เปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของดิน แปลงหญาแฝก และพืชคลุมดิน สามารถลดความหนาแนน
                       รวมของดินไดมากกวาแปลงควบคุม หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด พันธุนครสวรรค และหญาแฝกลุม
                       พันธุศรีลังกา สามารถลดความหนาแนนรวมของดินเฉลี่ยไดสูงสุดเทากัน 1.08 กรัมตอลูกบาศก
                       เซนติเมตร  ปริมาณความชื้นในดินระดับความลึก  40 และ 100 เซนติเมตร หญาแฝกลุมพันธุสงขลา

                       3 จะมีปริมาณความชื้นดินมากที่สุด สวนหญาแฝกดอนไดแก พันธุรอยเอ็ด และพันธุราชบุรี
                            4. ความสัมพันธระหวางสมบัติดินกับมวลชีวภาพของพืช ความหนาแนนรวมของดินมี
                       ความสัมพันธกับมวลชีวภาพใบและรากของหญาแฝกในทางลบ (r = -0.78** และ r = -0.70**)
                       ความชื้นในดินมีความสัมพันธกับมวลชีวภาพใบและรากของหญาแฝก ในทางบวก (r = 0.75** และ

                       r = 0.70**) ปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีความสัมพันธกับมวลชีวภาพใบและรากของหญาแฝกในทาง
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95