Page 42 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          24


                  เซนติเมตร เมื่อพิจารณาความยาวของเถาถั่วปนโต และความสูงของถั่วเวอราโนเฉลี่ยทั้ง 2 ชวงอายุ พบวา
                  ถั่วปนโตมีความยาวเถาเฉลี่ย 80.56 เซนติเมตร และถั่วเวอราโนมีความสูงตนเฉลี่ย 56.84 เซนติเมตร จะเห็น
                  ไดวาถั่วเวอราโนที่อายุ 48 เดือน มีความสูงลดลงอาจเปนเพราะถั่วเวอราโนเปนพืชอายุสั้น 1-2 ป และปริมาณ
                  น้ําฝนทําใหมีความชื้นดินที่เปลี่ยนแปลงตลอดชวงการศึกษา ทําใหการเจริญเติบโตลดลง


                  ตารางที่ 3 ความยาวเถาถั่วปนโต และความสูงตนถั่วเวอราโน (เซนติเมตร) ที่อายุ 24 เดือน 36 เดือน (ปที่ 1)
                            และ 48 เดือน (ปที่ 2)


                                                 เริ่มตนเก็บ                       อายุ
                           ตํารับทดลอง           ขอมูลที่

                                                 24 เดือน      36 เดือน         48 เดือน         เฉลี่ย
                  พืชคลุมดิน

                     ถั่วปนโต                   67.67         78.33            82.67            80.50
                     ถั่วเวอราโน                 49.67         60.00            53.67            56.84

                        1.4 ความยาวรากหญาแฝก
                            จากผลการศึกษาความยาวรากของหญาแฝกดอน 4 พันธุ หญาแฝกลุม 5 พันธุ ตามชวงอายุ 36
                  และ 48 เดือน ดังแสดงในตารางที่ 4 พบวา
                            เริ่มตนเก็บความยาวรากที่อายุ 24 เดือน พบวาความยาวรากมีคาอยูในชวง 37.67-78.33
                  เซนติเมตร โดยหญาแฝกพันธุสงขลา 3 มีความยาวรากมากที่สุด 78.33 เซนติเมตร รองลงมาไดแก พันธุศรีลังกา
                  พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุราชบุรี พันธุรอยเอ็ด พันธุสุราษฎรธานี พันธุนครสวรรค และพันธุตรัง 2 มีความยาว
                  รากเทากับ 63.67 61.67 56.67 48.00 45.00 41.00 และ 39.33 เซนติเมตร ตามลําดับ พันธุพระราชทาน

                  มีความยาวรากนอยที่สุด 37.67 เซนติเมตร และเมื่อเปรียบเทียบความยาวรากเฉลี่ยระหวางกลุมหญาแฝกดอน
                  และกลุมหญาแฝกลุม พบวาหญาแฝกลุมความยาวรากเฉลี่ย 52.80 เซนติเมตร ในขณะที่หญาแฝกดอนมี
                  ความยาวรากเฉลี่ย 51.84 เซนติเมตร
                            ที่อายุ 36 เดือน พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ ความยาวรากมีคาอยูในชวง 33.67-50.00
                  เซนติเมตร ซึ่งหญาแฝกพันธุประจวบคีรีขันธ มีแนวโนมความยาวรากมากที่สุด 50.00 เซนติเมตร รองลงมา
                  ไดแก พันธุราชบุรี พันธุนครสวรรค พันธุพระราชทาน พันธุสงขลา 3 พันธุสุราษฎรธานี พันธุศรีลังกา และพันธุ
                  รอยเอ็ด มีความยาวรากเทากับ 45.67 43.33  41.00 41.00 40.00 39.00 36.33 และ 33.67 เซนติเมตร
                  ตามลําดับ พันธุตรัง 2 มีความยาวรากนอยที่สุด 33.67 เซนติเมตร และเมื่อเปรียบเทียบความยาวรากเฉลี่ย
                  ระหวางกลุมหญาแฝกดอนและกลุมหญาแฝกลุม พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 15)

                  โดยหญาแฝกดอนมีความยาวรากเฉลี่ย 43.83 เซนติเมตร  ยาวกวาหญาแฝกลุมที่มีความยาวรากเฉลี่ย 38.93
                  เซนติเมตร
                           ที่อายุ 48 เดือน พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ความยาวรากอยูในชวง
                  1.00-51.67 เซนติเมตร โดยหญาแฝกพันธุสงขลา 3 มีความยาวรากมากที่สุดเทากับ 51.67 เซนติเมตร ไม
                  แตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุราชบุรี พันธุศรีลังกา พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุรอยเอ็ด พันธุนครสวรรค
                  และพันธุตรัง 2 มีความยาวรากเทากับ 50.33 47.00 42.00 39.67 38.33 และ 38.00 เซนติเมตร ตามลําดับ
                  แตแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุพระราชทาน และพันธุสุราษฎรธานี มีความยาวรากเทากับ 32.33
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47