Page 31 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       21







                       การกร่อนของหน้าดินได้ทั้ง 2 ระบบ ในส่วนวิธีการที่ 5 ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับ
                       น้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) จะช่วยชะลอการไหลบ่าของน้ าได้พอสมควร เมื่อมีการตัด
                       แต่งใบหญ้าแฝกจะน ามาคลุมแปลงไว้ และเกิดการย่อยสลายในที่สุด ส่งผลให้มีปริมาณอินทรียวัตถุใน
                       ดินเพิ่มสูงขึ้น รองลงมา (ตารางที่ 4)

                              หลังการทดลองปี พ.ศ.2558 ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ในระดับสูง (high) มีค่าอยู่ระหว่าง
                       3.98-4.35  เปอร์เซ็นต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการที่ 5 ปลูกข้าวไร่ มี
                       แถบหญ้าแฝกที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) และวิธีการที่ 2 ปลูกข้าวไร่ มี
                       คูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.) มีค่าเพิ่มสูงสุด 4.35

                       เปอร์เซ็นต์ และ 4.32 เปอร์เซ็นต์  ตามล าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลองส่วนปริมาณ
                       อินทรียวัตถุในดินที่มีค่าต่ า คือวิธีการที่ 1  ปลูกข้าวไร่  ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ ามีค่าต่ าสุด 4.03
                       เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (ตารางที่ 4)
                              หลังการทดลองปี พ.ศ.2559 ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ในระดับสูง (high) ถึงระดับสูงมาก

                       (very high) มีค่าอยู่ระหว่าง 3.83-4.55 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ วิธีการที่ 4 ปลูก
                       ข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.) และวิธีการวิธีการที่
                       5 ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) มีค่าเพิ่ม

                       สูงสุด 4.56  เปอร์เซ็นต์ และ 4.31 เปอร์เซ็นต์  ตามล าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลองส่วน
                       ปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่มีค่าต่ า คือวิธีการที่ 7  ปลูกข้าวไร่ มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับน้ า
                       ขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) ปลูกวิธีการที่ 2 ปลูกข้าวไร่ มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับ
                       น้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.) วิธีการที่ 7 ปลูกข้าวไร่ มีแถบชาอัสสัม ที่ระยะห่างคูรับน้ า
                       ขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) มีค่าต่ าสุด 4.00 เปอร์เซ็นต์ และ 4.08 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ

                       (ตารางที่ 4)
                                   หลังการทดลองปี 2559  อินทรียวัตถุในดินมีค่าเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับค่อนข้างสูง การ
                       สูญเสียอินทรียวัตถุในดินเกิดจากการเตรียมพื้นที่ ส าหรับปลูกข้าวไร่ในช่วงปีแรก ในส่วนปริมาณ

                       อินทรียวัตถุในดินที่เหลืออยู่ในดิน เกิดจากการไม่เผาตอซังข้าว ปล่อยให้คลุมแปลงและย่อยสลายลง
                       ไปในแปลงปลูกข้าวไร่
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36