Page 30 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ภาพที่ 2 ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) หลังการทดลองปี 2557 ปี 2558 และ ปี 2559
2.2.2 อินทรียวัตถุในดิน (OM)
หลังการทดลองปี พ.ศ.2557 ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (moderately
high) ถึงระดับสูงมาก (very high) มีค่าอยู่ระหว่าง 3.47-4.56 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีความแตกต่างกันทาง
สถิติ วิธีการที่ 5 ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.)
และวิธีการที่ 4 ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝกที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.)
มีค่าเพิ่มสูงสุด 4.56 เปอร์เซ็นต์ และ 4.43 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง
ส่วนปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่มีค่าต่ า คือ วิธีการที่ 7 ปลูกข้าวไร่ มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับ
น้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) ปลูกวิธีการที่ 2 ปลูกข้าวไร่ มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคู
รับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.) มีค่าต่ าสุด 3.63 เปอร์เซ็นต์ และ 3.92 เปอร์เซ็นต์
ตามล าดับ เป็นผลเนื่องจากไม่มีการเผาเศษพืช เมื่อท าการก าจัดวัชพืช จะคลุมแปลงด้วยเศษพืช ใน
วิธีการที่ 4 มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ าทั้งวิธีกล (คูรับน้ าขอบเขา) และมีการปลูกหญ้าด้านนอกคูรับน้ า
ขอบเขา เมื่อมีการตัดใบหญ้าแฝก จะน าใบหญ้าแฝกคลุมแปลงไว้เพื่อรักษาความชื้น และปล่อยให้
ย่อยสลายกลายไปเป็นปุ๋ยอินทรีย์ อีกทั้งคูรับน้ าขอบเขาและแถบหญ้าแฝกจะช่วยลดการไหลบ่าของ
น้ า และช่วยดักและกรองเศษซากพืชไว้ไม่ให้ไหลลงออกจากแปลง เมื่อฝนตกลงมาจะช่วยในการลด