Page 42 - ผลของปริมาณจุลธาตุสังกะสีในดินต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพข้าว ในพื้นที่นาข้าวลุ่มน้ำปากพนัง
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        32





                   ท้ำให้ดินเละง่ำยต่อปักด้ำ และเหมำะสมต่อกำรเจริญเติบโตของเมล็ดข้ำวงอก กำรปรับระดับพื้นที่

                   เป็นเรื่องที่มีควำมส้ำคัญมำก มีผลต่อควำมสม่้ำเสมอของต้นข้ำว บริเวณที่ต่้ำเป็นแอ่งมีน้้ำขังไม่สำมำรถ
                   ระบำยน้้ำออกได้หมดต้นข้ำวมักจะเน่ำตำย และระดับพื้นที่มีผลต่อกำรให้น้้ำเมื่อข้ำวเริ่มตั้งตัวได้

                   หลังหว่ำน ถ้ำพื้นที่ไม่สม่้ำเสมอจะท้ำให้เอำน้้ำเข้ำนำได้ไม่ทั่วถึง ถ้ำจะเอำน้้ำเข้ำให้ถึงบริเวณที่สูงกว่ำ
                   จะท้ำให้น้้ำท่วมต้นข้ำวบริเวณต่้ำกำรเจริญเติบโตไม่ดีหรืออำจจะตำยได้ แต่ถ้ำให้ระดับน้้ำพอเหมำะ

                   ส้ำหรับบริเวณต่้ำ บริเวณที่สูงกว่ำน้้ำก็ไม่ถึง จะท้ำให้เกิดปัญหำมีวัชพืชงอกขึ้นมำได้ นอกจำกนี้ระดับพื้นที่

                   ไม่สม่้ำเสมอยังมีผลต่อ ประสิทธิภำพของสำรก้ำจัดวัชพืช อันเนื่องมำจำกน้้ำเข้ำแปลงนำได้ไม่ทั่วถึง
                   เพรำะควำมชื้นที่เหมำะสมท้ำให้กำรใช้สำรก้ำจัดวัชพืชมีประสิทธิภำพมำกขึ้น (กรมกำรข้ำว, 2547)


                          กำรจัดกำรน้้ำ น้้ำเป็นปัจจัยส้ำคัญในกำรชักน้ำให้เกิดชนิดวัชพืชต่ำง ๆ ในนำข้ำว เนื่องจำก

                   ควำมชื้นในดินมีส่วนช่วยให้เมล็ดหรือส่วนขยำยพันธุ์ของวัชพืชงอกได้ วัชพืชแต่ละชนิดต้องกำรควำมชื้น

                   ในกำรงอก ในระดับที่แตกต่ำงกันออกไป เช่น หญ้ำนกสีชมพู หนวดปลำดุก และกกทรำย
                   ต้องกำรควำมชื้นระดับดินหมำด (field capacity) ก็สำมำรถงอกได้ หญ้ำไม้กวำด (ดอกขำว) สำมำรถ

                   งอกได้ตั้งแต่ควำมชื้นระดับดินหมำด ถึงระดับน้้ำลึก 2 เซนติเมตร หญ้ำข้ำวนกงอกได้ดีที่ระดับ
                   ควำมชื้นดินหมำด ถึงระดับ 1 เซนติเมตร แต่ระดับน้้ำ 2-6 เซนติเมตรยังงอกได้บ้ำง ส้ำหรับผักปอดนำ

                   และขำเขียด งอกได้บ้ำงในควำมชื้นระดับดินหมำด ถึงระดับน้้ำ 1 เซนติเมตร แต่งอกได้ดีตั้งแต่ระดับน้้ำ

                   1-6 เซนติเมตร ส่วนแห้วทรงกระเทียมโป่ง และผักตับเต่ำงอกได้ดีในน้้ำลึก 2–6 เซนติเมตร จำก
                   กำรที่วัชพืชต้องกำรควำมชื้นในกำรงอกแตกต่ำงกัน เรำสำมำรถน้ำวิธีกำรจัดกำรน้้ำมำใช้เพื่อลดปัญหำ

                   วัชพืช จะเห็นได้ว่ำมีวัชพืชน้อยชนิดที่งอกในน้้ำได้ ดังนั้นกำรท้ำนำด้ำ ซึ่งมีน้้ำขังตั้งแต่เริ่มปักด้ำ จึง
                   ไม่ค่อยมีปัญหำเรื่องวัชพืช ส้ำหรับนำหว่ำนน้้ำตม ลดปัญหำหญ้ำข้ำวนกได้โดยปล่อยให้น้้ำแห้ง

                   หลังหว่ำนข้ำวจนดินแตกระแหงแล้วจึงปล่อยน้้ำเข้ำนำ แต่หญ้ำไม้กวำดอำจจะมำแทนที่ เพรำะชอบงอก

                   ในสภำพเช่นนี้ วัชพืชประเภทหญ้ำและกกส่วนใหญ่ไม่สำมำรถงอกในสภำพน้้ำขัง ดังนั้นถ้ำเอำน้้ำ
                   เข้ำนำได้เร็ว คือ 7 วันหลังหว่ำนข้ำว จะสำมำรถควบคุมวัชพืชได้ดี ถ้ำเอำน้้ำเข้ำช้ำเกินไปวัชพืชมีโอกำส

                   งอกขึ้นมำได้ เมื่องอกได้แล้วสำมำรถเจริญเติบโตในสภำพน้้ำขังต่อไปได้ (กรมกำรข้ำว, 2547)


                          กำรใส่ปุ๋ยเคมี  ในสภำพดินร่วนทรำยหรือดินทรำย ในแปลงกล้ำข้ำว ควรใช้มูลสัตว์หรือปุ๋ยคอก

                   ในอัตรำ 500 กรัม (น้้ำหนักแห้ง) ร่วมกับปุ๋ย 16-16-8 อัตรำ 10 กรัม ต่อพื้นที่ 1 ตำรำงเมตร หว่ำน
                   รองพื้นก่อนหว่ำนเมล็ดพันธุ์ 1 วัน หรืออำจแยกหว่ำนปุ๋ย 16-16-8 ที่ 10–15 วันหลังหว่ำนเมล็ดก็ได้

                   แต่ในช่วง 7 วันก่อนถอนกล้ำไม่ควรให้ปุ๋ยไนโตรเจน กำรใส่ปุ๋ยแปลงปักด้ำ ครั้งที่ 1 ข้ำวไวต่อช่วงแสง
                   ใส่ปุ๋ยสูตร 16-16-8 อัตรำ 25 กิโลกรัมต่อไร่ ในวันปักด้ำหรือก่อนปักด้ำ 1 วัน แล้วครำดกลบ

                   (หรือใส่ปุ๋ยหลังจำกปักด้ำ 15 วัน เมื่อต้นข้ำวตั้งตัวได้แล้ว) หำกไม่มีปุ๋ย 16-16-8 ให้ใช้ปุ๋ยแอมโมเนียม
                   ฟอสเฟตสูตรต่ำงๆ เช่น 16-20-0, 18-22-0, 20-20-0 และ 18-46-0 แทนได้โดยใส่อัตรำ 25 กิโลกรัม

                   ต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อัตรำ 5-10 กิโลกรัมต่อไร่ ครั้งที่ 2 ข้ำวไวต่อช่วงแสง
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47