Page 35 - ผลของปริมาณจุลธาตุสังกะสีในดินต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพข้าว ในพื้นที่นาข้าวลุ่มน้ำปากพนัง
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        25





                   ในเรื่องคุณภำพของดิน ดังนั้นในปัจจุบันจึงปล่อยให้รกร้ำงว่ำงเปล่ำมีหญ้ำเสม็ด และไม้พุ่มเล็ก ๆ

                   ขึ้นอยู่ทั่วไป ตัวอย่ำงชุดดินที่อยู่ในกลุ่มนี้ ไม่เหมำะสมต่อกำรปลูกพืชทั่วไป แต่หำกมีควำมจ้ำเป็น
                   ต้องน้ำมำใช้ท้ำกำรเกษตร จ้ำเป็นต้องมีกำรศึกษำสภำพแวดล้อมต่ำง ๆ เช่น สภำพพื้นที่ แหล่งน้้ำ

                   ชลประทำน แหล่งวัสดุปรับปรุงดิน และวิธีกำรจัดกำรที่เหมำะสม ได้แก่ ชุดดินกำบแดง
                   (กรมพัฒนำที่ดิน, 2553)



                          กลุ่มชุดดินที่ 58 เป็นดินอินทรีย์ในพื้นที่พรุ แต่ชั้นดินอินทรีย์ที่พบหนำกว่ำ 100 เซนติเมตร และ
                   มีเนื้อหยำบกว่ำอีกทั้งมีเศษพืชขนำดเล็กและขนำดใหญ่ปะปนอยู่ทั่วไป ปัจจุบันบริเวณดังกล่ำวส่วนใหญ่

                   ยังคงสภำพป่ำพรุ บริเวณขอบ ๆ พรุบำงแห่งใช้ปลูกพืชล้มลุกและพืชผักสวนครัว แต่ไม่ค่อยได้ผล
                   เมื่อป่ำพรุถูกท้ำลำยไปจะมีพืชต่ำง ๆ เช่น กระจูด เฟิร์น และเสม็ดขึ้นแทนที่ ตัวอย่ำงชุดดินที่อยู่ในกลุ่มนี้

                   ไม่เหมำะสมที่จะน้ำมำใช้ในกำรเพำะปลูกพืช เนื่องจำกเป็นดินอินทรีย์ที่มีชั้นวัสดุอินทรีย์หนำกว่ำ 1 เมตร

                   มีสภำพไม่อยู่ตัว พบในที่รำบลุ่มมีน้้ำขังเกือบตลอดปีหรือตลอดปี ขำดธำตุอำหำรที่จ้ำเป็น
                   ต่อกำรเจริญเติบโตของพืชและดินเป็นกรดจัด กำรที่จะพัฒนำมำใช้ประโยชน์ในกำรเพำะปลูกพืช

                   ก็ให้ผลไม่คุ้มค่ำในกำรลงทุน ได้แก่ ชุดดินนรำธิวำส (กรมพัฒนำที่ดิน, 2553)


                          กลุ่มชุดดินที่ 59 ดินมีกำรผสมของดินหลำยชนิด ซึ่งเกิดจำกตะกอนล้ำน้้ำพัดพำมำทับถมกัน

                   พบบริเวณที่รำบลุ่ม หรือบริเวณพื้นล่ำงของหุบเขำ มีสภำพพื้นที่รำบเรียบ มีควำมลำดชันประมำณ 0-2
                   เปอร์เซ็นต์ ดินที่พบส่วนใหญ่มีกำรระบำยน้้ำค่อนข้ำงเลวถึงเลว มีลักษณะและคุณสมบัติต่ำง ๆ เช่น

                   เนื้อดิน สีดิน ควำมลึกของดิน ปฏิกิริยำดิน ตลอดจนควำมอุดมสมบูรณ์ตำมธรรมชำติไม่แน่นอนขึ้นอยู่
                   กับชนิดของวัตถุต้นก้ำเนิดดินในบริเวณนั้น ๆ ส่วนมำกมีก้อนกรวดและเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดิน ได้แก่

                   ชุดดินตะกอน สีน้้ำกำรระบำยน้้ำเลว (AL-P) ปัจจุบันบริเวณดังกล่ำวใช้ประโยชน์ในกำรท้ำนำ ส่วนในฤดู
                   แล้งถ้ำมีแหล่งน้้ำนิยมใช้ปลูกพืชผัก หรือพืชไร่อำยุสั้น มีศักยภำพเหมำะสมในกำรท้ำนำในช่วงฤดูฝน และ

                   เหมำะสมในกำรปลูกพืชไร่ในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจำกดินมีควำมชื้นพอที่จะปลูกพืชไร่ได้หลำยชนิด

                   หลังกำรเก็บเกี่ยวข้ำวแล้ว และพื้นที่บำงส่วนของกลุ่มดินนี้อยู่ภำยใต้ระบบชลประทำนโดยเฉพำะ
                   ในภำคเหนือ ส่วนกำรปลูกไม้ผลหรือไม้ยืนต้นนั้นไม่เหมำะสม เพรำะมีน้้ำท่วมขังในฤดูฝนและดินมีสภำพ

                   กำรระบำยน้้ำค่อนข้ำงเลวถึงเลว (กรมพัฒนำที่ดิน, 2553)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40