Page 34 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       21


                                                  ผลการทดลองและวิจารณ์

                   1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน


                            1.1 ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH)
                                จากการเก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลองเพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน พบว่า ก่อน
                   การทดลองทุกต ารับการทดลองมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ในระดับกรดจัด (4.92 - 5.00)  และจากการ

                   เก็บตัวอย่างดินหลังการทดลองปีที่ 1  เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดินพบว่า ต ารับที่ 1 วิธีของเกษตรกร
                   มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างสูงกว่าต ารับอื่นๆ โดยเพิ่มจากระดับกรดจัดเป็นกรดรุนแรง (4.32) ในขณะที่
                   ต ารับที่ 2  ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง  ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมัก

                   ชีวภาพ ต ารับที่ 3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า  ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ และ
                   ต ารับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรม
                   ปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างลดลงจากระดับกรดจัดเป็น
                   กรดปานกลาง  (4.32, 5.90, 6.28 และ 6.06 ตามล าดับ) จากการเก็บตัวอย่างดินหลังการทดลองปีที่ 2
                   เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน พบว่า ต ารับที่ 1 วิธีของเกษตรกร ยังมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างสูง

                   ที่สุด (4.56) อยู่ในระดับกรดจัด ในขณะที่ต ารับที่ 2 ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยราย
                   แปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ต ารับที่ 3  ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า  ร่วมกับ
                   ปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ และต ารับที่ 4  ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน า

                   ตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ มีค่าความเป็นกรดเป็น
                   ด่างลดลงจากระดับกรดปานกลางเป็นกรดเล็กน้อย (6.70, 6.64 และ 6.74 ตามล าดับ) และหลังจากการ
                   เก็บตัวอย่างดินหลังการทดลองปีที่ 3 เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน พบว่า ต ารับที่ 1 วิธีของ
                   เกษตรกร ยังมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างสูงที่สุด (5.08) อยู่ในระดับกรดจัดเหมือนหลังการทดลองปีที่ 2

                   ในขณะที่ต ารับที่ 2 ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ า
                   หมักชีวภาพ ต ารับที่ 3  ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ
                   และต ารับที่ 4  ปุ๋ยชีวภาพ พด.12  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจาก
                   โปรแกรมปุ๋ยรายแปลง  ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเพิ่มขึ้นมาอยู่ใน

                   ระดับกรดปานกลาง (5.90,  5.60 และ 6.12 ตามล าดับ) (ภาพที่ 4 และตารางผนวกที่ 10) จากผลการ
                   ทดลองทั้ง 3 ปี เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า ต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร ค่าความเป็นกรดเป็น
                   ด่างของดินลดลงหลังการทดลองปีที่ 1 เพราะในต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกรก่อนการทดลองไม่ได้ใช้โดโลไมท์
                   ในการปรับสภาพดินก่อนการทดลอง จึงท าให้ค่าความเป็นกรดเป็นด่างยังอยู่ในระดับกรดรุนแรง

                   สอดคล้องกับกรมพัฒนาที่ดิน (2558) ที่กล่าวว่าการใช้วัสดุปูนทางการเกษตร การใส่อินทรียวัตถุ เช่นปุ๋ย
                   หมัก ปุ๋ยคอก พืชปุ๋ยสด ช่วยลดความเป็นกรดของดินได้ ส่วนหลังการทดลองในปีที่ 2 และ 3 มีค่าความ
                   เป็นกรดเป็นด่างอยู่ในระดับกรดจัด
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39