Page 36 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       23


                   จากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุดอยู่ในระดับ
                   ปานกลาง ซึ่งจากผลการทดลองทั้ง 3 ปี เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า ต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร
                   ไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณอินทรียวัตถุ เพราะไม่ได้มีการปรับปรุงบ ารุงดิน ส่วนต ารับที่ 2  ปุ๋ยเคมีอัตรา

                   ตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลงร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
                   อินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น แต่ยังอยู่ในระดับปานกลางเหมือนเดิม (1.54  และ 1.60 เปอร์เซ็นต์) อาจเนื่องมาจากพืช
                   ปุ๋ยสดที่ใส่ลงไปย่อยสลายเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน ส่วนต ารับที่ 3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า
                   ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณอินทรียวัตถุจากระดับค่อนข้างต่ า (1.34

                   เปอร์เซ็นต์) มาเป็นระดับปานกลาง (1.60 เปอร์เซ็นต์) ส่วนต ารับที่ 4  ปุ๋ยชีวภาพ พด.12  ร่วมกับปุ๋ยเคมี
                   อัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมัก
                   ชีวภาพ ปริมาณอินทรียวัตถุมีปริมาณเพิ่มขึ้นสูงกว่าต ารับอื่นๆ แต่ยังอยู่ในระดับปานกลางเหมือนเดิม

                   (1.59  และ 1.77  เปอร์เซ็นต์) (ภาพที่ 5  และตารางผนวกที่ 11) อาจเนื่องมาจากมีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์
                   คุณภาพสูง และพืชปุ๋ยสดลงไปในต ารับที่ 3 และ ใส่ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 และพืชปุ๋ยสดลงไปในต ารับที่ 4 ซึ่ง
                   เป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน





































                   ภาพที่ 5  เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุในดินก่อนและหลังการทดลองการใช้ปุ๋ยต่างๆ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41