Page 29 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        18


                            ต ารับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา ½ ค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจาก
                   โปรแกรมปุ๋ยรายแปลงของกรมพัฒนาที่ดิน  โดยครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่
                   ร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 1.5 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีสูตร 0-0-60 อัตรา 3.5 กิโลกรัมต่อไร่

                   และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 3.5 กิโลกรัมต่อไร่

                   หมายเหตุ ครั้งที่ 1 ของแต่ละต ารับการทดลองใส่ปุ๋ยเคมีในช่วง 7-10 วัน หลังด านา
                             ครั้งที่ 2 ของต ารับการทดลองที่ 1  ใส่ในช่วงข้าวเริ่มตั้งท้อง ส่วนต ารับการทดลองที่ 2 และ 4

                                     ใส่ในช่วงก่อนการสุกแก่ 2.5 เดือน

                   3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
                            3.1 ข้อมูลดิน การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของดิน ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน  (pH)
                   ปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้
                            3.2 ข้อมูลปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง  เก็บตัวอย่างปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง จ านวน 1 กิโลกรัม ส่งฝ่าย
                   วิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 12  เพื่อวิเคราะห์ปริมาณอินทรียวัตถุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส

                   โพแทสเซียม ค่าการน าไฟฟ้า และความเป็นกรดเป็นด่าง
                            3.3  ข้อมูลพืช
                                3.3.1 ข้อมูลองค์ประกอบผลผลิตข้าว  เก็บข้อมูลในพื้นที่ 1 ตารางเมตร (จ านวน 16 กอ)
                   โดยเก็บข้อมูลการเจริญเติบโตด้านความสูงในระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต   นับจ านวนต้นต่อกอ จ านวนรวงต่อ

                   กอ  สุ่มเก็บจ านวนรวงมา 3  รวงต่อแปลงย่อย เพื่อนับจ านวนเมล็ดดีต่อรวง และค านวณเป็นเปอร์เซ็นต์
                   เมล็ดดี  เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ
                                3.3.2 ข้อมูลผลผลิตของข้าวที่ความชื้น 14 เปอร์เซ็นต์ โดยเก็บผลผลิตในพื้นที่ 3x3 ตาราง

                   เมตร เมื่อข้าวอยู่ในระยะพลับพลึง โดยตัดสองแถวรอบนอกแปลงของแปลงย่อยออก เกี่ยวใส่ถุงแต่ละ
                   แปลงย่อยน าไปตากแห้ง นวด วัดความชื้นและชั่งน้ าหนักเพื่อค านวณหาผลผลิตที่ความชื้น 14 เปอร์เซ็นต์

                   4. การวิเคราะห์ข้อมูล
                            4.1 วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติของการเจริญเติบโตด้านความสูง จ านวนต้นต่อกอ
                   จ านวนรวงต่อกอ จ านวนเมล็ดต่อรวง เปอร์เซ็นต์เมล็ดดี และเปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ โดยวิเคราะห์ความ
                   แปรปรวนทางสถิติแบบบล็อกสุ่มสมบูรณ์เมื่อค่าเฉลี่ยอย่างน้อยหนึ่งคู่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

                   เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ด้วยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT)
                            4.2 วิเคราะห์ข้อมูลผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34