Page 221 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 221

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              ผ1-8





                                                 โครงการพัฒนาแหล่งน้้าชุมชน


                  1. หลักการและเหตุผล

                             การจัดการน้ าที่ถูกต้องและเหมาะสมในพื้นที่ลุ่มน้ า เป็นการบรรเทาการเกิดน้ าท่วมในฤดูฝน และ

                  บรรเทาความแห้งแล้งในฤดูแล้งของลุ่มน้ านั้นๆ และท าให้ระบบนิเวศน์ของลุ่มน้ ามีคุณภาพดี ในทางตรงกันข้าม
                  หากพื้นที่ลุ่มน้ าใดมีการจัดการน้ าที่ไม่ถูกต้องแล้ว การเกิดน้ าท่วมและความแห้งแล้งในพื้นที่ลุ่มน้ าจะเกิดรุนแรง

                  มากขึ้นและบ่อยครั้ง หรือซ้ าซากทุกปีหรือเกือบทุกปี ดังนั้น การจัดการน้ าท่าในพื้นที่ลุ่มน้ า เช่น พื้นที่ปุาไม้
                  พื้นที่การเกษตร และพื้นที่ตัวเมืองอย่างถูกต้องและเหมาะสมแล้ว  จะบรรเทาน้ าท่วมและความแห้งแล้งและ

                  คุณภาพของน้ าท่าในพื้นที่ลุ่มให้มีคุณภาพดี มีปัจจัยหลายอย่างที่เป็นตัวควบคุมปริมาณอัตราการเป็นประโยชน์

                  เวลาของการมีน้ าท่า และคุณภาพของน้ าท่า เช่น ลักษณะต่างๆทางกายภาพของลุ่มน้ า  ธรรมชาติของพายุฝน
                  การใช้ประโยชน์ที่ดิน  และการจัดการที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ า  ปัจจัยที่ส าคัญที่สุดที่มีผลกระทบกระเทือนอย่างมาก

                  กับปริมาณอัตราการใช้ประโยชน์  เวลาของการมีน้ าท่า  และคุณภาพของน้ าท่า ได้แก่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  และการจัดการที่ดิน ซึ่งเป็นสิ่งที่ควบคุมได้ในพื้นที่ลุ่มน้ า

                             กรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งมีภารกิจด้านการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า  จึงได้จัดท า

                  โครงการพัฒนาแหล่งน้ าชุมชน  เพื่อเป็นต้นแบบของการบริหารจัดการน้ าท่าที่ดี  ซึ่งประกอบด้วย การบริหาร
                  จัดการด้านอุปสงค์ของการใช้น้ า (Demand  side  management) และการบริหารจัดการด้านอุปทาน

                  (Supply side management) ซึ่งประกอบด้วยการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่มีประสิทธิภาพ  สามารถ
                  ปูองกันการชะล้างพังทลายของดินที่กระทบต่อสภาวะแวดล้อมในพื้นที่การเกษตรและแหล่งเก็บกักน้ า  มีการ

                  ก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้ าให้สามารถน าไปใช้ในเขตพื้นที่การเกษตรที่ก าหนดขึ้น โดยการวางแผนการใช้ที่ดิน
                  อย่างเหมาะสม มีการจัดระบบการปลูกพืชได้โดยก าหนดระยะเวลา ชนิด และพันธุ์พืชให้เหมาะสม  สอดคล้อง

                  กับศักยภาพของดินและสภาพภูมิอากาศ รวมถึงการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรด้านการ

                  ใช้น้ า ด้านการปรับปรุงบ ารุงดิน โดยมีกิจกรรมฝึกอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร

                  2. วัตถุประสงค์ของโครงการ

                             2.1 เพื่ออนุรักษ์น้ าและเก็บเกี่ยวน้ า โดยการจัดการให้น้ าฝนที่ตกลงมาถูกกักเก็บไว้ให้ไหลซึมลงใต้ดิน

                  เป็นประโยชน์ในรูปของความชื้นแก่พรรณพืช ไม่ให้ไหลบ่าไปกัดเซาะดินในพื้นที่ตอนล่างให้เกิดความเสียหาย

                             2.2 เพื่อกักเก็บน้ าไว้ใช้เพื่อการเกษตรกรรม
                             2.3 เพื่อเป็นต้นแบบการพัฒนาแหล่งน้ าชุมชนที่มีการบริหารจัดการอย่างครบวงจร


                  3. ระยะเวลาด้าเนินการ

                             ครอบคลุมระยะเวลาในปีงบประมาณ

                  4. วิธีด้าเนินงาน


                             4.1 ศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่กลุ่มเกษตรกรและศักยภาพของการท าการเกษตรกรรม

                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226