Page 220 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 220

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              ผ1-7



                             6.2 การเตรียมข้อมูลก่อนด าเนินการ ซึ่งต้องศึกษาและการวางโครงการ โดยเจ้าหน้าที่จะเข้า
                  ส ารวจข้อมูลสภาพพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ทั้งเรื่องที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพดิน น้ า เพื่อให้

                  สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร

                             6.3 การวิเคราะห์ปัญหา เจ้าหน้าที่จะร่วมกับเกษตรกรวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่

                  นั้นๆ เพื่อก าหนดเป็นแผนงานต่อไป

                             6.4 ขั้นตอนการออกแบบตามประเภทของงานพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก


                             6.5 ขั้นตอนการก่อสร้างตามประเภทของงานพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก

                  7. หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกพื้นที่งานแหล่งน้้า และ หลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ(ทั่วประเทศ)

                             โดยแนวทางการคัดเลือกเป็นไปตามลักษณะของแหล่งน้ าและสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสม เพื่อ

                  ประโยชน์ของราษฎรอย่างแท้จริง และยึดหลักเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณโดยพิจารณา 6 ตัวแปร คือ

                  พื้นที่นอกเขตชลประทาน ร้อยละ 10, ประชากร ร้อยละ 30, พื้นที่ภัยแล้ง ร้อยละ 10, พื้นที่อุทกภัย ร้อยละ
                  10, ความยากจน ร้อยละ 10 และ พื้นที่การชะล้างพังทลายของดิน ร้อยละ 30 ซึ่งงานดังกล่าวสามารถก่อสร้าง

                  กระจายไปในท้องถิ่นที่ห่างไกลและทุรกันดารได้เกือบทุกท้องที่ เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของ
                  ราษฎรที่ขาดแคลนน้ าใช้ส าหรับการเพาะปลูกและเป็นน้ ากินน้ าใช้ในฤดูแล้ง ในการก่อสร้างดังกล่าวจะได้เร่งรัด

                  การก่อสร้างขึ้นตามราษฎรร้องขอหรือปรับปรุงซ่อมแซมของเดิมที่ราษฎรได้ก่อสร้างไว้ให้คงทนถาวร

                  8. งบประมาณ


                             จากงบประมาณของรัฐบาลในแต่ละปีงบประมาณ ซึ่งในแต่ละปีจะได้รับงบประมาณงานพัฒนา
                  แหล่งน้ ารวมค่าส ารวจออกแบบและค่าควบคุมการก่อสร้างไม่มากนัก โดยจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตาม

                  หลักเกณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน

                  9. หน่วยงานรับผิดชอบ

                             กรมพัฒนาที่ดิน


                  10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

                             10.1 สามารถริเริ่มงานที่มาจากความต้องการของราษกรอย่างแท้จริง


                             10.2 สามารถก่อสร้างงานโดยยึดถือความถูกต้องตามหลักวิชาและให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

                  11. ผลผลิต (Output)

                             จ านวนแห่งของงานแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า









                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225