Page 222 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 222

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              ผ1-9



                             4.2 ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นปัจจัยการผลิต เช่น แหล่งน้ า ระบบการใช้น้ า และระบบ
                  อนุรักษ์ดินและน้ า

                             4.3 ฟื้นฟูและปรับปรุงบ ารุงดิน

                             4.4 การจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรและการฝึกอบรม

                  5. หลักเกณฑ์

                             การเข้าด าเนินการในระดับพื้นที่ และการประสานกับ อบต. มีเงื่อนไข ดังนี้


                             5.1 ที่ดินแปลงนั้นต้องเป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ใช้ร่วมกัน เช่น ที่สาธารณะ หนอง คลอง บึง
                  ต่างๆ หรือพื้นที่สาธารณะว่างเปล่าที่ไม่มีการใช้ประโยชน์ใดๆ และสามารถขุดเป็นสระเก็บน้ าชุมชนได้ หรือ

                  ที่ดินเอกชน ที่ยินยอมให้ประชาชนและเกษตรกรเข้าใช้ประโยชน์ในแหล่งน้ านี้ร่วมกันได้ทุกกรณี
                             5.2 ต้องมีเนื้อที่ส าหรับด าเนินการไม่น้อยกว่า 20-30 ไร่ หรือมีพื้นที่เพื่อกักเก็บน้ าประมาณ

                  200,000 ลบ.ม. และมีศักยภาพในการขุดแหล่งน้ าเพื่อการท าเกษตร

                             5.3 ไม่เสียค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อที่ดินเพื่อการดังกล่าว
                             5.4 คัดเลือกจังหวัดเปูาหมายจากจังหวัดที่มีพื้นที่แล้งซ้ าซาก

                             5.5 เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็ง และท าการเกษตรกรรม ปลูกพืช
                  ที่หลากหลายให้เหมาะสมกับคุณภาพของดิน

                             5.6 คัดเลือกจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณต้องไม่ซ้ ากับจังหวัดเดิม โดยกระจายทั่วประเทศเพื่อที่

                  จักได้รับงบประมาณในการก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน้ าชุมชนอย่างทั่วถึง

                  6. หน่วยงานรับผิดชอบ

                             กรมพัฒนาที่ดิน


                  7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

                             แหล่งน้ าเพื่อการเกษตร ขนาดประมาณแห่งละ 128,000-200,000 ลูกบาศก์เมตร ในระดับความ

                  ลึกประมาณ 4 เมตร และครอบคลุมพื้นที่รับประโยชน์ประมาณแห่งละ 20 ไร่ ดังนั้นเมื่อด าเนินการก่อสร้างแล้ว
                  เสร็จ จ านวน 35 แห่ง จะสามารถเก็บกักน้ าเพื่อการเกษตรไว้ใช้ได้ประมาณ 4.4800-7.0000 ล้านลูกบาศก์เมตร


                  8. ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากโครงการ

                             8.1 เกษตรกรในพื้นที่รับประโยชน์ มีแหล่งน้ าไว้ใช้ท าการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง

                             8.2 ทรัพยากรดินในพื้นที่รับประโยชน์ได้รับการบริหาร ปรับปรุง และพัฒนาอย่างครบวงจร
                  9. ผลผลิต (Output)


                             จ านวนแหล่งน้ าชุมชนได้รับการพัฒนาและฟื้นฟู

                  10. ผลลัพธ์ (Outcome)

                             ร้อยละของเกษตรกรที่ได้รับประโยชน์แหล่งน้ าเพิ่มขึ้น



                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227