Page 216 - การปรับปรุงและจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 216

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              ผ1-3



                                   4.3.3 คัดเลือกพื้นที่ก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทานตามเงื่อนไขของโครงการ
                  เป็นล าดับแรก คือ เป็นพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพในการเก็บกักน้ า โดยพิจารณาจากคุณสมบัติของดิน หลีกเลี่ยง

                  พื้นที่ที่เป็นดินทรายจัด และพื้นที่เกลือขึ้นเป็นดินเค็ม พื้นที่ซึ่งมีก้อนหินขนาดใหญ่ ซึ่งหากก่อสร้างไปจะท าให้ไม่

                  สามารถเก็บกักน้ าไว้ใช้ได้นาน และคุณภาพน้ าไม่ดี และควรพักการปลูกพืช เพื่อความสะดวกในการเข้าไป
                  ด าเนินการก่อสร้าง โดยเจ้าหน้าที่บริษัทผู้รับจ้างร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินและหมอดินอาสา จะเข้าไปตรวจสอบ

                  พื้นที่ที่คัดเลือก และสอบถามเกษตรกร

                                   4.3.4 พื้นที่ด าเนินการควรจะมีขนาดไม่น้อยกว่า 30 x 40 ตารางเมตร โดยจะใช้ก่อสร้าง

                  สระน้ า อย่างน้อย 20 x 30 x 2.1 เมตร เพื่อให้เครื่องจักรสามารถท างานได้โดยสะดวก และสามารถท าการ
                  เกลี่ยดิน ตกแต่งคันบ่อได้อย่างเรียบร้อย


                                   ทั้งนี้ พื้นที่ด าเนินการควรมีการจัดกลุ่มเปูาหมายการจัดสรรพื้นที่ก่อสร้างให้มีขนาดของ
                  กลุ่มและการกระจายตัวของสระน้ าให้เหมาะสมกับการบริหารจัดการเครื่องจักรกล ได้แก่ การจัดชุด

                  เครื่องจักรกลเข้าท างาน การเคลื่อนย้ายเครื่องจักรกลให้มีขนาดเหมาะสมกับระดับเศรษฐกิจ (Economy  of
                  Scale) ซึ่งจะมีผลต่อการด าเนินการที่ทันเวลาและคุ้มค่ากับการลงทุน ทั้งในเขตพัฒนาที่ดินและเขตยุทธศาสตร์

                  จังหวัดอย่างสัมฤทธิ์ผล

                             4.4 การเก็บเงินสมทบ


                                   4.4.1 ให้สถานีพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดินทุกจังหวัดเปิดบัญชีประเภทกระแสรายวัน
                  ชื่อบัญชี “โครงการแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน สถานีพัฒนาที่ดิน.........” ส าหรับเก็บ

                  รวบรวมเงินฝากสมทบจากเกษตรกร บ่อละ 2,500 บาท และก าหนดให้เจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน จ านวน 2 ท่าน

                  เป็นผู้ลงนามจ่ายเช็คให้ผู้รับจ้าง  หรือคืนให้เกษตรกรบ่อละ 2,500  บาท ในกรณีที่ไม่สามารถขุดสระเก็บน้ า
                  ประจ าไร่นาได้


                                   4.4.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) จัดส่งเจ้าหน้าที่ ไปจัดเก็บ
                  เงินสมทบจากเกษตรกร บ่อละ 2,500 บาท น าฝากในบัญชีตามข้อ 5.4.1 ณ สถานที่ และตามรายชื่อเกษตรกร

                  ที่เจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดินส่งมอบโดยมีเอกสารประกอบการรับเงินให้เกษตรกรไว้เป็นหลักฐาน และสรุป
                  รายชื่อเกษตรกรที่จ่ายเงินสมทบแล้วให้เจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดินไว้ตรวจสอบ


                                   4.4.3  ในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการให้บริการเกษตรกรของ ธกส.  รายละ 15  บาท
                  เมื่อผู้รับจ้างน าเงินค่าธรรมเนียมให้ ธกส.  และ ธกส.  จะออกใบรับฝากให้ก่อน และเมื่อท าการเก็บเงินสมทบ

                  จากเกษตรกรได้แล้ว จึงจะออกเป็นใบเสร็จรับเงินให้ผู้รับจ้างในภายหลัง

                             4.5 การขุดสระน้้า


                             ส านักวิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดิน สถานีพัฒนาที่ดิน นักวิชาการของส านักงานพัฒนาที่ดิน และ
                  เกษตรกร ตรวจสอบความเหมาะสมของพื้นที่ขุดสระน้ า ซึ่งจะต้องเป็นจุดที่อยู่ในพื้นที่ราบต่ า มีความลาดชันไม่






                                                       การปรับปรุงและจัดท้าข้อมูลเชิงพื้นที่ด้านการพัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221