Page 28 - การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติจังหวัดชัยนาท
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                       18


                      2.8 พื้นที่ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้รักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวรตำมโครงกำรปรับปรุง
                      กำรจ ำแนกประเภทที่ดิน


                             คือ พื้นที่ป่ำไม้ถำวรนอกเขตป่ำสงวนแห่งชำติ เขตอุทยำนแห่งชำติ และเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ
                      ที่ได้มีกำรส ำรวจจ ำแนกประเภทที่ดิน ตำมมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 มิถุนำยน 2525 และ
                      คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้เก็บรักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวร ซึ่งพื้นที่ที่ให้เก็บรักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวร
                      พิจำรณำตำมหลักเกณฑ์กำรจ ำแนกประเภทที่ดิน พื้นที่ที่ให้เก็บรักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวร ต้องเป็นพื้นที่ที่

                      มีลักษณะดังนี้

                                     1.) พื้นที่ซึ่งมีสภำพเป็นป่ำไม้

                                     2.) พื้นที่ซึ่งคณะรัฐมนตรีก ำหนดให้จัดเป็นชั้นคุณภำพลุ่มน้ ำ ชั้น 1 หรือชั้น 2, หรือ
                      ส ำหรับชั้น 3 ในบริเวณที่ควำมลึกของดินน้อยกว่ำ 50 ซ.ม.

                                     3.) ตำมข้อเสนอของผู้แทนกรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำและพันธุ์พืช เพื่อให้ครอบคลุม
                      พื้นที่หน่วยงำนและโครงกำรของกรมป่ำไม้  กรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำและพันธุ์พืช และกรมทรัพยำกร
                      ทำงทะเลและชำยฝั่งซึ่งเป็นหน่วยงำนที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตำมพระรำชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม

                      พ.ศ. 2545 (ปรับปรุงตำมมติคณะกรรมกำรฯ ครั้งที่ 4/2553)

                                     4.) พื้นที่ซึ่งดินไม่สำมำรถใช้ในทำงเกษตรกรรมได้

                                     5.) พื้นที่ซึ่งเป็นเกำะ ภูเขำ หรือพื้นที่ซึ่งมีควำมลำดชันเกิน 35%

                                     6.) ป่ำชำยทะเล, ป่ำชำยเลน, ป่ำที่เกำะ ห้ำมจ ำแนกออกจำกป่ำไม้ถำวร

                                     7.) ป่ำที่เป็นเกำะและไม่มีเอกสำรสิทธิ์ ให้เก็บไว้เป็นป่ำไม้ถำวรทั้งหมด (มติคณะกรรมกำรฯ
                      ครั้งที่ 3/2537)

                                     8.) ป่ำชำยเลน ตำมมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ธันวำคม 2530 หรือพื้นที่เป็น
                      ป่ำติดชำยทะเล ให้รักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวรไม่ควรจ ำแนกออก ส่วนพื้นที่ที่รำษฎรมีเอกสำรสิทธิ์ให้รำษฎร

                      ร้องขอมำเป็นรำยๆ ไป ทำงกรมป่ำไม้จะกันออกให้ มติคณะกรรมกำรฯ ครั้งที่ 3/2534)

                             พื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้รักษำไว้เป็นป่ำไม้ถำวร มอบให้กรมป่ำไม้รับไปด ำเนินกำรประกำศ
                      เป็นป่ำสงวนแห่งชำติ เพิ่มเติม

                      2.9 กำรอ่ำนแปล และตีควำมจำกภำพถ่ำย

                             คือ กำรพิจำรณำตรวจสอบจุดภำพถ่ำยเพื่อชี้จ ำแนกวัตถุและพิจำรณำนัยส ำคัญ ลักษณะพื้นฐำน
                      ของจุดภำพที่ใช้ในกำรพิสูจน์ มี 5 ประกำร


                                     1) รูปร่ำง (Shape) เกี่ยวข้องกับลักษณะทั่วไป โครงร่ำง หรือขอบเขตของวัตถุแต่ละ
                      ชนิดซึ่งเป็นส่วนประกอบที่ส ำคัญที่สุด ส ำหรับกำรตรวจรู้วัตถุจำกจุดภำพของวัตถุนั้นๆ เช่น ทำงรถไฟ
                      จะมองเห็นแตกต่ำงอย่ำงเด่นชัดจำกทำงหลวง เพรำะว่ำรูปร่ำงทำงรถไฟ ประกอบด้วย เส้นตรงและ
                      ส่วนโค้งน้อยๆ ซึ่งตรงข้ำมกับทำงหลวงซึ่งมีรูปร่ำงหักงอไปมำ

                                     2) ขนำด (Size) ของคุณภำพของวัตถุจะแปรเปลี่ยนไปตำมมำตรำส่วนของภำพถ่ำย

                      อำจมีกำรแปลภำพผิดได้ ถ้ำหำกว่ำประเมินขนำดของวัตถุผิดไป เช่น อำจตีควำมว่ำ บ้ำนสุนัขเป็น
                      ยุ้งข้ำวได้ถ้ำไม่ค ำนึงถึงขนำด
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33