Page 93 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 93

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        72


                   4.2 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริโครงการพัฒนา

                   ลุ่มน้้าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้้าน้้าหนาว หมู่ที่ 2 ต้าบลหลักด่าน อ้าเภอน้้าหนาว
                   จังหวัดเพชรบูรณ์
                            4.2.1 สมบัติของดินก่อนด าเนินการ
                                 ก่อนการด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ได้มีการตรวจวิเคราะห์ดินโดย

                   เก็บตัวอย่างดินในพื้นที่โครงการฯ และประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินพบว่า  ค่าความเป็นกรด
                   เป็นด่างของดินเท่ากับ 5.2 ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับต่ า คือ 1.38  เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่
                   เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ ามาก คือ 1  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ใน
                   ระดับต่ า คือ 27 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ตารางที่ 12) ซึ่งโดยทั่วไปดินในพื้นที่ก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและ

                   น้ าจะมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ซึ่งอาจจะเกิดจากปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ท าให้สูญเสียหน้าดินไป
                   หมดแล้ว การใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างหนึ่ง หลังจากนั้นจึงปรับปรุง
                   บ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดิน


                   ตารางที่ 12 สมบัติทางเคมีของดินก่อนด าเนินการ

                   สมบัติของดิน                                    ระดับ          ผลการวิเคราะห์
                   ค่าปฏิกิริยาดิน                                 กรดจัด         5.2
                   ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอร์เซ็นต์)                ต่ า           1.38
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)   ต่ ามาก   1
                   ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)   ต่ า   27
                   ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 8 (2559)


                          4.2.2 สมบัติของดินหลังด าเนินการ
                                ภายหลังการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า จากการประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                   พบว่า ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                   ของดินมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 5.6 ปริมาณอินทรียวัตถุมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.75 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้อาจเกิดจาก

                   การสับกลบพืชปุ๋ยสดและการใช้น้ าหมักชีวภาพ ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ โดยมีค่าเพิ่มขึ้น
                   เท่ากับ 20    อยู่ในระดับปานกลาง  ทั้งนี้อาจเกิดจากปุ๋ยเคมีที่ใส่ตกค้างในดินภายหลังการปลูกพืช
                   การปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด และระบบอนุรักษ์ดินและน้ าที่สร้างขึ้นเพื่อลดความยาวของความลาดชันใน
                   พื้นที่ ส่งผลท าให้ปริมาณการชะล้างพังทลายลดลง ปริมาณธาตุอาหารพืชในดินจึงไม่ถูกชะล้าง

                   เช่นเดียวกับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเพิ่มขึ้นเท่ากับ 70
                   มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ตารางที่ 13)
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98