Page 96 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        75


                                                           บทที่ 5

                                                      สรุปผลการศึกษา


                   5.1 สรุปผลการศึกษา
                            5.1.1 ปัจจัยและแนวทางที่กรมพัฒนาที่ดินได้เข้าไปด าเนินการในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก
                   พระราชด าริโครงการพัฒนาลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว หมู่ที่ 2  ต าบลหลักด่าน

                   อ าเภอน้ าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
                                 1) พื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนาลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตใน
                   พื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว ครอบคลุมพื้นที่ 700 ไร่ มีระดับความลาดชัน 3 ระดับ คือ 2-5, 20-35 และ 35-50
                   เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่เกษตรกรใช้ปลูกพืชไร่ (ข้าวโพด) ดินที่พบ คือ ชุดดินลี้  (Li  moderate  deep

                   variants:  Li-md) ก่อนด าเนินงานมีปริมาณการสูญเสียดินเท่ากับ 4.46, 27.66 และ 45.93 ตันต่อไร่
                   ตามล าดับ สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์จึงได้จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ได้แก่ คูรับน้ าขอบเขา (คันดิน
                   แบบที่ 6) จ านวน 41.78 กิโลเมตรร่วมกับการปลูกหญ้าแฝก จ านวน 80,000 กล้า ช่วยให้คันดินที่ขุดเกิด

                   ความคงทนและยั่งยืนยิ่งขึ้นภายหลังจากการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ท าให้ปริมาณการสูญเสียดิน
                   ลดลงเท่ากับ 0.45, 3.10 และ 4.17 ตันต่อไร่ ตามล าดับ และให้ดินมีความชุ่มชื้นยิ่งขึ้น
                                2) ปริมาณน้ าไหลบ่าในพื้นที่โครงการฯเท่ากับ 82,789.21 ลูกบาศก์เมตร อัตราการไหลบ่า
                   เฉลี่ยเท่ากับ 86.73 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์จึงได้ก่อสร้างอาคารชะลอ
                   ความเร็วของน้ า จ านวน 15 จุด เพื่อชะลอความเร็วของน้ า กักเก็บตะกอนดินไม่ให้ไหลลงสู่แหล่งน้ า

                   ด้านล่าง และสร้างความชุ่มชื้นในพื้นที่
                              3) ชุดดินลี้ (Li moderate deep variants: Li-md) เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง
                   สถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์จึงได้การใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบ ารุงดิน เพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ และ

                   ปรับปรุงโครงสร้างของดินในพื้นที่ ท าให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่ดีขึ้น เมื่อได้เข้าร่วมโครงการฯ
                   เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวโพด ข้าวไร่ และมะขามหวาน ได้โดยใช้ปุ๋ยพืชสดปุ๋ยหมักและ
                   น้ าหมักชีวภาพ ในการปรับปรุงดิน ท าให้ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้น โดยใช้ปุ๋ยพืชสด
                   ปรับปรุงดินในนาข้าวร่วมกับน้ าหมักชีวภาพ จ านวน 10 ราย พบว่า เกษตรกรร้อยละ 10 ได้ผลผลิตข้าว

                   เฉลี่ยเพิ่มขึ้น 150  กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 60 ได้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 100 กิโลกรัมต่อไร่ และ
                   ร้อยละ 30 ผลผลิตข้าวไม่เพิ่มขึ้น
                              4) เกษตรกรในพื้นที่มีการปรับเปลี่ยนระบบการปลูกพืชจากพืชเชิงเดี่ยวเป็นระบบการปลูกพืช
                   แบบผสมผสานมากขึ้น ซึ่งเป็นระบบที่มีความยั่งยืนมากขึ้นกว่าเดิม กล่าวคือ ก่อนมีโครงการ

                   อันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนาลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว เกษตรกรใน
                   พื้นที่จะปลูกข้าวโพดเป็นพืชหลัก โดยปลูกแบบไม่มีการจัดการ เช่น การไถขึ้นลงตามความลาดชัน เร่งให้
                   เกิดการชะล้างพังทลายของดิน ต่อมาเมื่อทางสถานีพัฒนาที่ดินเพชรบูรณ์เข้าด าเนินการจัดระบบอนุรักษ์
                   ดินและน้ าในพื้นที่ คูรับน้ าขอบเขาที่สร้างขึ้น นอกจากจะป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และ
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101