Page 91 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 91

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        70


                   ต่อมาหน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้าไปด าเนินการในพื้นที่ได้เข้าไปอบรมให้ความรู้ ซึ่งทางสถานีพัฒนาที่ดินและ

                   หน่วยงานต่าง ๆ ให้การสนับสนุน ในพื้นที่จัดระบบ จ านวน 700  ไร่ นอกจากนี้เกษตรกรบางรายได้
                   จัดหาไม้ผล ไม้ยืนต้น ปลูกตามแนวคูรับน้ าขอบเขา ท าให้คันดินที่ขุดมีความคงทนและถาวรยิ่งขึ้น
                   เป็นการสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างเกษตรกรกับภาครัฐ สามารถเพิ่มพื้นที่ปุาให้กับพื้นที่ และเกษตรกร
                   สามารถมีรายได้เพิ่มขึ้น นอกจากการขายข้าวโพดเพียงอย่างเดียว คาดว่าในอนาคตอันใกล้นี้ เกษตรกร

                   ในพื้นที่จะมีรายได้และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
                               6)  มีศูนย์เรียนรู้ การพัฒนาที่ดินเกิดขึ้นในชุมชนที่เกษตรกรในพื้นที่สามารถที่จะเข้าไป
                   เรียนรู้จากพื้นที่จริงของเกษตรกร และสามารถขยายผลไปสู่ชุมชนใกล้เคียงได้ เช่น การผลิตการใช้
                   ปุ๋ยหมัก และน้ าหมักชีวาพจากสารเร่งพด. ต่าง ๆ ที่เป็นผลิตภัณฑ์ของกรมพัฒนาที่ดิน การสาธิตการใช้

                   ปุ๋ยพืชสด การปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ท ากินของเกษตรกร เพื่อปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน
                   แปลงจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยการก่อสร้างคูรับน้ าขอบเขา แบบที่ 6  เกษตรกรในพื้นที่เห็น
                   ประโยชน์ของคูรับน้ าขอบเขา ที่ปูองกันการพังทลายของดินได้ และเป็นเส้นทางล าเลียงในพื้นที่
                   สามารถปฏิบัติงานได้ง่าย และเกษตรกรสามารถเรียนรู้การวางแนวระดับโดยการใช้สายยางวัดระดับน้ า

                   โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ได้และสามารถน าไปปรับใช้กับพื้นที่ท ากินของตนเองได้
                              7) มีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ท าให้พื้นที่โครงการฯ ได้รับการพัฒนาในหลาย ๆ
                   ด้านไปพร้อมกัน เช่น การพัฒนาที่ดิน การพัฒนาแหล่งน้ า การพัฒนาอาชีพ การพัฒนา

                   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และท าให้เกษตรกรมีทางเลือกในการประกอบอาชีพเสริมมากขึ้น
                   เช่น ไม้ผลพวกเงาะ มะม่วง ไม้ยืนต้น  การเลี้ยงสัตว์ การประมง เป็นต้น และเมื่อชาวบ้านหรือ
                   ตัวเกษตรกรเองที่อยู่อาศัยในพื้นที่พื้นที่มีงานมีอาชีพที่มั่นคง สามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครับได้ดีแล้ว
                   ก็ไม่ออกไปหางานท าต่างถิ่น
                            การบูรณาการโครงการฯ โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรท้องถิ่นและภาค

                   ประชาชน เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของชุมชนเปูาหมาย ให้มีแหล่งความรู้เป็นพื้นฐาน
                   การประกอบอาชีพ ให้สามารถเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ที่มีคุณภาพปลอดภัยจากสารพิษ สร้างสุขภาพที่ดี
                   ให้กับตนเองตนเองและผู้บริโภค มีรายได้เพียงพอต่อการด ารงชีพ มีการรวมกลุ่มอาชีพที่เข้มแข็ง

                   มีจิตส านึกของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ปุาไม้ น้ า ดิน ซึ่งเป็นแหล่งต้นน้ าที่มีความส าคัญยิ่งของ
                   ประเทศ โดยให้ชุมชนบนพื้นที่สูงอยู่ร่วมกับปุาไม้ด้วยความเข้าใจ และมีการพึ่งพากันอย่างเหมาะสม
                   การด าเนินงานดังกล่าวส่งผลให้เกิดความมั่นคงและเกิดการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่โครงการอย่างเป็น
                   ระบบโดยเริ่มจาก

                                - พื้นที่ต้นน้ า ประกอบด้วย ชุมชนในโครงการฯ ซึ่งเป็นกลุ่มเปูาหมายหลักของ
                   โครงการที่อาศัยและใช้ประโยชน์จากแหล่งต้นน้ า เกิดจิตส านึกความหวงแหน เล็งเห็นความส าคัญของ
                   ทรัพยากรปุาไม้ และแหล่งน้ าร่วมกัน หลายพื้นที่ลด/เลิกการถางปุา เพื่อขยายพื้นที่ปลูกพืชไร่
                   โดยเปลี่ยนมาปลูกพืชเชิงอนุรักษ์ที่มีรายได้ดี ที่หน่วยงานภาครัฐเข้าไปส่งเสริม เช่น มะขามหวาน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96