Page 90 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        69


                            4.1.6  ผลส าเร็จของการปรับปรุงบ ารุงดินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนา

                   ลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว หมู่ที่ 2   ต าบลหลักด่าน อ าเภอน้ าหนาว
                   จังหวัดเพชรบูรณ์
                              1) จากการสอบถามเกษตรกรพบว่า เกษตรกรที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกพืชไร่เป็น
                   ไม้ผล ไม้ยืนต้นร้อยละ 20 และคาดว่าในปี 2562 จะมีปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกพืชไร่หรือพืชล้มลุกเป็นไม้ผล

                   ไม้ยืนต้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 และพื้นที่อีกร้อยละ 20 จะส่งเสริมให้มีการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ
                   และปลูกพืชอื่น ๆ เช่น ข้าวโพด มะขามหวาน พืชผักสวนครัว เป็นต้น
                                2) ในพื้นที่ท ากินบนภูเขาสูง ได้รับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยการก่อสร้าง
                   ฝายชะลอความเร็วน้ าในร่องเขา ไร่นา คูรับน้ าขอบเขา จ านวน 700  ไร่ ซึ่งสามารถปูองกันการชะล้าง

                   พังทลายของดิน ลดการไหลบ่าของน้ าและเก็บกักน้ าไว้ใช้ช่วงฝนทิ้งช่วง
                                3) เกษตรกรในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการท าการเกษตรในพื้นที่ภูเขาสูง
                   ที่ถูกต้อง และน าเอาวิธีการปูองกันการชะล้างพังทลายของดินน าไปใช้ในพื้นที่ของตนเอง เช่น การวางแนว
                   ระดับ โดยการใช้สายยางวัดระดับน้ า เพื่อท าแนวขั้นบันได ส าหรับการปลูกไม้ผลยืนต้นในพื้นที่

                   การปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดับขวางทางลาดเท ซึ่งเกษตรกรในพื้นที่น าไปปฏิบัติในพื้นที่ของตนเอง
                               4) เกษตรกรสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวโพด ข้าวไร่ ข้าว และมะขามหวาน ได้โดยใช้ปุ๋ยพืชสด
                   ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ า ในการปรับปรุงดิน ท าให้ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้สูงขึ้น

                   จากการสอบถามชาวบ้านที่ใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงดินในนาข้าวร่วมกับปุ๋ยน้ าหมัก จ านวน 10  ราย พบว่า
                   เกษตรกรร้อยละ 10  ได้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 150  กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 60 ได้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย
                   เพิ่มขึ้น 100 กิโลกรัมต่อไร่ และร้อยละ 30 ผลผลิตข้าวไม่เปลี่ยนแปลง (ตารางที่ 11)

                   ตารางที่ 11 ผลของการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบ ารุงดิน


                                 ผลผลิต                        จ้านวน(ราย)                  ร้อยละ
                   ผลผลิตข้าวเฉลี่ยเพิ่ม 150 กิโลกรัมต่อไร่         1                        10
                   ผลผลิตข้าวเฉลี่ยเพิ่ม 100 กิโลกรัมต่อไร่         6                        60

                   ผลผลิตข้าวไม่เพิ่ม                               3                        30

                               5) เกษตรกรในพื้นที่มีการปรับเปลี่ยนระบบการปลูกพืชจากพืชเชิงเดี่ยวเป็นระบบการปลูก

                   พืชแบบผสมผสานมากขึ้น ซึ่งเป็นระบบที่มีความยั่งยืนมากขึ้นกว่าเดิม กล่าวคือ ในอดีตก่อนที่จะมี
                   โครงการพัฒนาลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตต้นน้ าน้ าหนาวในพื้นที่ เกษตรกรในพื้นที่จะปลูกข้าวโพด
                   ข้าวไร่เป็นพืชหลักในพื้นที่สูง โดยปลูกแบบไม่มีการจัดการ เพราะไม่มีทางล าเลียงในพื้นที่เข้าพื้นที่
                   ล าบาก ต่อมาเมื่อทางสถานีพัฒนาที่ดินเข้าด าเนินการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ คูรับน้ า

                   ขอบเขาที่สร้างขึ้น นอกจากจะปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน และลดการไหลบ่าของน้ าแล้ว ยังใช้
                   เป็นทางล าเลียงผลผลิตข้าวโพดออกจากพื้นที่ และเข้าไปดูแลรักษาแปลงได้สะดวกอีกด้วย
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95