Page 14 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         4


                              2) ฟื้นฟู พัฒนาสภาพปุาสงวนแห่งชาติ บริเวณที่มีสภาพเสื่อมโทรมและไม่มีราษฎรถือครอง
                   ใช้ประโยชน์ จ านวน 83,838 ไร่ โดยการพัฒนาปุา 3 วิธี ปลูกไม้ 3 อย่าง ให้ได้ประโยชน์ 4 ประการ

                                   3) วิเคราะห์ จ าแนก และร่วมกับชุมชนในการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในพื้นที่ที่มีการ
                   ถือครองใช้ประโยชน์อยู่ประมาณ 162,251 ไร่
                                    4) ส่งเสริมและพัฒนาระบบการผลิตของชุมชนให้สามารถพึ่งตนเองได้ (สุวัฒนา, 2559)
                            2) ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ

                            ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ก่อก าเนิดจากการที่ได้รับ
                   พระราชด าริ เมื่อวัน 11  ธันวาคม พ.ศ. 2525  ที่พระราชประสงค์ให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง
                   ที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือ และเผยแพร่แก่ราษฎรให้สามารถน าไปปฏิบัติได้ด้วยตัวเองต่อไป
                   โดยท าการศึกษาพัฒนาปุาไม้ 3  อย่าง ประโยชน์ 4  อย่าง คือ ใช้สอย ไม้ผล ไม้เชื้อเพลิง ซึ่งจะอ านวย

                   ประโยชน์ในการอนุรักษ์ดินและน้ า ตลอดจนคงความชุ่มชื้นเอาไว้เป็นประโยชน์อย่างที่ 4 และ พื้นที่ต้นน้ า
                   ล าธารให้ได้ผลอย่างสมบูรณ์เป็นหลัก โดยต้นทางเป็นการศึกษาสภาพพื้นที่ปุาไม้ต้นน้ าล าธารและ
                   ปลายทางเป็นการศึกษาด้านการประมงตามอ่างเก็บน้ าต่าง ๆ ผสมกับการศึกษาด้านการเกษตรกรรม
                   ด้านปศุสัตว์ และด้านเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อให้เป็นศูนย์ที่สมบูรณ์แบบ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อราษฎรที่

                   จะเข้ามาศึกษากิจกรรมต่าง ๆ ในศูนย์ฯ แล้วน าไปใช้ปฏิบัติอย่างได้ผลต่อไป ดังมีพระราชด าริว่า
                   "ให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ท าหน้าที่เสมือน พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต" หรืออีกนัย หนึ่งเป็น "สรุปผล
                   การพัฒนา" ที่ประชาชนจะเข้าไปเรียนรู้และน าไปปฏิบัติได้ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
                              1) เป็นศูนย์กลางแบบเบ็ดเสร็จที่มีการศึกษาทดลองและสาธิตในลักษณะสหวิทยาการ

                   เสมือนหนึ่งพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต ส าหรับราษฎรได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาเรียนรู้แล้วน าไปปฏิบัติได้
                              2) เพื่อศึกษา ทดลอง วิจัย และพัฒนาตามแนวพระราชด าริ ด้านทรัพยากรน้ า ปุาไม้ ดิน
                   และระบบเกษตร รวมทั้งระบบนิเวศลุ่มน้ าห้วยฮ่องไคร้ และการจัดการลุ่มน้ าให้สามารถใช้ประโยชน์ได้
                                3) เป็นศูนย์กลางข้อมูลการพัฒนาบูรณาการ และแลกเปลี่ยนข้อมูล บริการข้อมูลข่าวสารทั้ง

                   ในด้านวิชาการ และเชิงปฏิบัติ เพื่อประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
                                4)  ขยายผลการพัฒนาสู่ประชาชนในหมู่บ้านรอบบริเวณศูนย์ฯ และโครงการบริการการ
                   พัฒนาในระดับพื้นที่ ให้ด ารงชีวิตที่พออยู่พอกิน และสามารถพึ่งตนเองได้

                                 5) พัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พื้นที่ลุ่มน้ าให้มีความ
                   อุดมสมบูรณ์และ สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมตามแนวพระราชด าริ
                          1.4.2 ลุ่มน  า  คือ พื้นที่ลาดชันที่ระบายน้ าจากเส้นสันปันน้ า (divide ) ให้ไหลลงไปสู่ท้องล าธาร
                   อย่างน้อยสองแห่งหรือมากกว่านั้น ฉะนั้น ลุ่มน้ า ก็คือ พื้นที่ที่ล้อมรอบไปด้วยสันปันน้ านั้นเอง เส้นแบ่ง
                   เขตลุ่มน้ าหรือเส้นสันปันน้ านี้ แบ่งออกได้เป็น 2  ชนิด คือ สันปันน้ าผิวดินและสันปันน้ าใต้ดิน   ส าหรับ

                   ค าว่า "ต้นน้ าล าธาร" (head watershed หรือ upstream watershed) คือ ลุ่มน้ าที่อยู่บนที่สูงบริเวณที่
                   เป็นต้นก าเนิดของห้วยธารสายแรก ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ภูเขาสูงชันปกคลุมไปด้วยปุาไม้และมีฝนตกชุก
                   มีคุณสมบัติเหมาะที่จะรองรับน้ าฝน สามารถดูดซับและกักเก็บน้ าปริมาณมาก ๆ ไปไว้เป็นน้ าใต้ดิน ซึ่งทาง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19