Page 13 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         3


                           1) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนาลุ่มน  าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื นที่
                   ต้นน  าน  าหนาว

                         เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตให้สัมพันธ์และเอื้อ
                   ประโยชน์ต่อกันได้อย่างยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการฟื้นฟูและพัฒนาจนมีสภาพ
                   ที่สมบูรณ์เป็นปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาการเกษตร ซึ่งเป็นอาชีพหลักของราษฎร ให้ชุมชนเกิดความ
                   เข้มแข็งสามารถพึ่งตนเองได้ ท าให้คนสามารถอยู่กับปุาได้    โดยยึดแนวทางตามพระราชด าริ
                   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า “ต้นทางเป็นปุาไม้ ปลายทางเป็นประมง”

                         ในพื้นที่อ าเภอน ้าหนาวนั้นเป็นพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติและพื้นที่อุทยานแห่งชาติน ้าหนาว และยังถูก
                   ก าหนดให้พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่คุณภาพลุ่มน ้าที่ส าคัญในชั้น  1A  นั้นมีความส าคัญยิ่ง  เพราะโดย
                   ข้อเท็จจริงในเขตปุาสงวนแห่งชาติน ้าหนาวแห่งนี้ ได้มีการจัดตั้งบ้านเรือนและมีการท ากิน บุกรุก ท าลาย

                   ปุาเป็นจ านวนมากและเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่ถูกวิธีบนพื้นที่ลาดชันภูเขาสูง
                   มาเป็นระยะยาวนาน จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพลุ่มน ้า และรูปแบบการเพาะปลูกพืชของราษฎรก็มุ่งปลูก
                   พืชพาณิชย์เป็นหลัก  เช่น ข้าวโพด  ขิง  ซึ่งเป็นรูปแบบที่มุ่งเน้นให้เกิดความเสียหายต่อลุ่มน ้าและ
                   สภาพแวดล้อมมากขึ้นด้วย การใช้สารเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นจ านวนมาก สภาพปัญหาที่ปรากฏคือ พื้นที่

                   ลุ่มน ้ามีสภาพเสื่อมโทรมส่งผลกระทบต่อคุณภาพลุ่มน ้า  และวิถีการผลิตของชุมชน  เป็นปัจจัยเร่งของ
                   ปัญหาการชะล้างพังทลายของดินและแผ่นดินถล่มซึ่งเกิดขึ้นทั่วๆ  ไปในพื้นที่ลุ่มน ้า  อีกทั้งพื้นที่นี้ยังเป็น
                   ต้นน ้าของล าห้วยหลายสาย ได้แก่ ห้วยขอนแก่น ห้วยน้ าหนาว (ต้นน้ าปุาสัก) น้ าพอง น้ าเชิญ (ต้นน้ าชี)
                   และ ห้วยผาลา (ต้นน้ าเลย)

                             ต่อมาในปีพ.ศ. 2544  แกนน าราษฎรอ าเภอน้ าหนาวจ านวน 200  คน ไปศึกษาดูงานและเข้ารับ
                   การอบรมรูปแบบการพัฒนาของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชด าริ เพื่อการ
                   เรียนรู้และน ารูปแบบความรู้เพื่อไปใช้ในการแก้ไขปัญหา และหลังจากนั้นส านักงาน กปร. และศูนย์ศึกษา
                   การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ได้เดินทางไปติดตามเยี่ยมชมสภาพพื้นที่และแนวทางการน าผลการฝึกอบรมจาก

                   ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ไปใช้ในการพัฒนาชุมชน
                             ส านักงาน กปร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้ร่วมกันส ารวจข้อมูลเบื้องต้นและได้พิจารณา
                   แล้วเห็นว่า พื้นที่อ าเภอน้ าหนาว มีสภาพปัญหาที่มีความส าคัญควรที่จะได้จัดท าโครงการด าเนินการใน

                   ลักษณะด าเนินงานแบบเบ็ดเสร็จตามรูปแบบโครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ โดยน า
                   แนวทางการพัฒนาที่ได้จากการศึกษาและพัฒนาตามแนวพระราชด าริเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้เพื่อ
                   การด าเนินงานพัฒนาพื้นที่ต้นน้ าอ าเภอน้ าหนาว
                          แนวทางด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนาลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิต
                   ในพื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว ดังนี้

                                  1)  ดูแล รักษา คุ้มครองสภาพปุาที่มีความอุดมสมบูรณ์ในเขตปุาสงวนแห่งชาติน้ าหนาว
                   จ านวน 63,650  ไร่ ให้คงสภาพอุดมสมบูรณ์และเสริมสร้างคุณภาพลุ่มน้ าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18