Page 18 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจสอบดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         10


                                            6) ต ารับการทดลองที่ 6 ประเมินอัตราปุ๋ยจากค่าวิเคราะห์ดินโดยใช้
                       ค าแนะน าปุ๋ยที่ได้จากการใช้ชุด LDD Test Kit ในการวิเคราะห์ดิน
                              รายละเอียดการใช้ปุ๋ยในต ารับการทดลองที่ 2 เป็นอัตราและวิธีการที่เกษตรกรปฏิบัติ คือ  ปุ๋ย

                       สูตร 46-0-0 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อข้าวโพดอายุ 25 วัน คิดเป็นอัตรา 11.5-0-0 กิโลกรัม
                       N-P O -K O ต่อไร่ ต่อปี
                          2 5 2
                              การใช้ปุ๋ยในต ารับการทดลองที่ 3-5 ประเมินจากผลการวิเคราะห์ดินก่อนการทดลองจาก

                       ห้องปฏิบัติการกลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 (2558) ซึ่งมีผลการวิเคราะห์ดิน ได้แก่
                       ปริมาณอินทรียวัตถุ 1.50 เปอร์เซ็นต์  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 37 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และปริมาณ
                       โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ 70.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีรายละเอียดแต่ละต ารับการทดลองดังต่อไปนี้
                              ต ารับการทดลองที่ 3 ประเมินอัตราปุ๋ยที่ใช้ตามเกณฑ์ของกรมวิชาการเกษตร ซึ่งผลการ

                       วิเคราะห์ดินมีปริมาณอินทรียวัตถุ 1.50 เปอร์เซ็นต์ จะต้องใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 15 กิโลกรัม N ต่อไร่ ดินมี
                       ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์  37 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จะต้องใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส 5 กิโลกรัม P O
                                                                                                        2 5
                       ต่อไร่ และดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ 70.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จะต้องใส่ปุ๋ย
                       โพแทสเซียม 5 กิโลกรัม K O  ต่อไร่ ดังแสดงในตารางภาคผนวกที่ 2  สรุปต ารับการทดลองที่ 3 จะใช้
                                             2
                       ปุ๋ยอัตรา 15-5-5 กิโลกรัม N-P O -K O  ต่อไร่ต่อปี โดยใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 32.6 กิโลกรัมต่อไร่
                                                2 5 2
                       สูตร 0-46-0 อัตรา 10.87 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 0-0-60 อัตรา 8.33 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียวเมื่อ
                       ข้าวโพดอายุ 25 วัน
                              ต ารับการทดลองที่ 4 ประเมินอัตราปุ๋ยจากค่าวิเคราะห์ดิน ตามเกณฑ์และผลดังนี้

                              ปริมาณปุ๋ยไนโตรเจนใช้การปลดปล่อยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุร่วมกับประสิทธิภาพการดูด
                       ใช้ไนโตรเจนของพืช ที่มีเพียง 50 เปอร์เซ็นต์  ซึ่งจากงานวิจัยของดานิเอล (2556) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                       พันธุ์ CP-DK  888  ผลผลิต 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ต้องการธาตุไนโตรเจน 27.76 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วน

                       ไนโตรเจนที่ได้จากการปลดปล่อยจากอินทรียวัตถุในดิน อ้างอิงจากตารางแสดงปริมาณการปลดปล่อย
                       ไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุในดิน (Indigenous N supply, INS) ดัดแปลงจาก Ankerman, D and R. Large (n.d.)
                       ในเอกสาร Agronomy  Handbook  ส าหรับดินเนื้อปานกลาง มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน 1.50
                       เปอร์เซ็นต์ อายุพืชที่ปลูก 120 วัน จะมีค่า INS เท่ากับ 12.68 กิโลกรัม N ต่อไร่  (ตารางภาคผนวกที่ 7)
                       ดังนั้น จะต้องเพิ่มปุ๋ยไนโตรเจน เท่ากับ 15.08 กิโลกรัม N  ต่อไร่(27.76–12.68) แต่ก าหนดให้

                       ประสิทธิภาพการดูดใช้ของพืชได้เพียง 50 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นต้องชดเชยเพิ่มอีก 7.54 กิโลกรัม N ต่อไร่
                       รวมเนื้อปุ๋ยไนโตรเจนที่ใช้ 22.62 กิโลกรัม N ต่อไร่ (15.08+7.54)
                              ปริมาณปุ๋ยฟอสฟอรัส ประเมินจากค่าวิกฤตของฟอสฟอรัสในดินที่ 10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่ง

                       ในดินมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 37 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งมากกว่าค่าวิกฤต  ดังนั้น จึงไม่มี
                       การใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัส ในต ารับการทดลองนี้
                              ปริมาณปุ๋ยโพแทสเซียม  ประเมินจากค่าวิกฤตของโพแทสเซียมในดิน  (ส าหรับพืชไร่)  ที่  100
                       มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ซึงในดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์  70.5  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ดังนั้น

                       ต้องเพิ่มธาตุโพแทสเซียมให้แก่พืชอีก 29.5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (100–70.5) หรือ 9.204 กิโลกรัม K ต่อ
                       ไร่ หรือ 11.05 กิโลกรัม K O ต่อไร่
                                            2
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23