Page 22 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจสอบดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         14


                              ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์หลังการทดลอง
                       พบว่า ทุกต ารับการทดลองมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
                       ประโยชน์สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยเฉพาะในต ารับการทดลองที่ มีการใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัส และ

                       โพแทสเซียม คือต ารับการทดลองที่ 3 5 และ 6 จะมีปริมาณเหลือตกค้างสูงกว่าอีก 3 ต ารับการทดลอง
                       ที่ไม่มีการใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม โดยต ารับการทดลองที่ 5 ซึ่งใช้ปุ๋ยเคมีอัตรา 20-10-10
                       กิโลกรัม N-P O -K O  ต่อไร่ต่อปี จะมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่เป็น
                                  2 5 2
                       ประโยชน์ตกค้างอยู่สูงที่สุด คือ 56.5 และ 95.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมตามล าดับ ซึ่งเป็นระดับสูงมาก
                       และสูงตามล าดับ อาจเป็นข้อพิจารณาในการปรับลดปริมาณการใช้ปุ๋ยในต ารับการทดลองนี้ลงได้อีก
                       ตามความเหมาะสมของสภาพเศรษฐกิจ ผลการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดินก่อนและหลังการทดลอง
                       แสดงดังตารางที่ 2

                       ตารางที่ 2 สมบัติทางเคมีดินก่อนและหลังการทดลอง

                                                                                                      -1
                                                                                  -1
                          ต ารับการทดลอง      pH        (%) OM       Avail.P (mg kg )    Avail.K (mg kg )
                          ก่อนการทดลอง        6.5         1.50            37.0                70.5
                          หลังการทดลอง
                                1             6.6         1.60            45.5                73.5
                                2             6.4         1.57            43.5                75.6

                                3             5.7         1.38            53.7                80.3

                                4             6.2         1.54            47.8                72.8
                                5             5.9         1.43            56.5                95.0
                                6             5.6         1.56            48.9                87.4

                       ที่มา: กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 (2558)

                       3. การเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                              3.1 ความสูง

                              การเจริญเติบโตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ความสูง 3 ช่วงอายุ ได้แก่ 30 60 และ 90 วัน
                       พบว่า ที่อายุ 30 วัน ไม่พบความแตกต่างทางสถิติ แต่พบแนวโน้มว่าต ารับการทดลองที่มีการใช้ปุ๋ยเคมี
                       คือต ารับการทดลองที่ 2 ถึง 6 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีความสูงมากกว่าต ารับการทดลองที่ 1 ที่ไม่มีการใช้
                       ปุ๋ยเคมี ซึ่งต ารับการทดลองที่ 2 ถึง 6 ให้ความสูงของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ตั้งแต่ 40.92 ถึง 48.25
                       เซนติเมตร ส่วนต ารับการทดลองที่ 1 ซึ่งไม่มีการใช้ปุ๋ยเคมีให้ความสูงเพียง 34.62 เซนติเมตร  ที่อายุ

                       60 วัน พบความแตกต่างทางสถิติของความสูง โดยต ารับการทดลองที่ 3 4 5 และ 6 ให้ความสูงของ
                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงกว่าต ารับการทดลองที่ 1 และ 2  ซึ่งต ารับการทดลองที่ 3 4 5 และ 6 มีการใช้
                       ปุ๋ยเคมี โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราที่สูงกว่าต ารับการทดลองที่ 1 และ 2  ส่วนที่อายุ 90 วัน ไม่พบ

                       ความแตกต่างทางสถิติ แต่ยังมีแนวโน้มในทิศทางเดียวกับที่อายุ 60 วัน คือ ต ารับการทดลองที่มีการใช้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27