Page 14 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจสอบดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          6


                       คณะ (2552) รายงานว่า การปลูกมันส าปะหลังในชุดดินแม่ริมที่มีความลาดเทของพื้นที่ 4.4
                       เปอร์เซ็นต์ หากไม่ใส่ปุ๋ยจะท าให้ปริมาณธาตุอาหารในพื้นที่ขาดดุลเทียบเท่าเนื้อปุ๋ย 4.2-3.0-2.2
                       กิโลกรัม N-P O -K O  ต่อไร่ ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องมีวิธีการจัดการสมดุลธาตุอาหารพืชในพื้นที่อย่าง
                                  2 5 2
                       เหมาะสม ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามปัจจัยต่างๆ เช่น ชนิดของพืช คุณสมบัติของดิน (เนื้อดิน pH และ
                       ปริมาณธาตุอาหารในดิน) ความลาดเทของพื้นที่ และปริมาณน้ าฝน เป็นต้น
                              จากการศึกษาการจัดการสมดุลธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ส าหรับ

                       การผลิตข้าวโพดพันธุ์นครสวรรค์ 2 ในชุดดินสมอทอด พบว่า สมดุลของธาตุอาหารในพื้นที่ปีที่ 1 ซึ่ง
                       ไม่ได้ไถกลบเศษซากข้าวโพด พบว่า กรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ยท าให้ปริมาณธาตุอาหารในพื้นที่ขาดดุลเฉลี่ย
                       เท่ากับ 10.9-0.4-8.4 กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่ หรือแม้แต่กรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมี  15-5-5 กิโลกรัม
                                                     2 5 2
                       N-P O -K O ต่อไร่ก็ยังคงท าให้ปริมาณธาตุอาหารในพื้นที่ขาดดุลเช่นกันเฉลี่ย 5.0-8.2-6.7 กิโลกรัม
                          2 5 2
                       N-P O -K O ต่อไร่ ในปีที่ 2 เมื่อไถกลบเศษซากพืช พบว่าไนโตรเจนและโพแทสเซียมในกรรมวิธีที่
                          2 5 2
                       ไม่ใส่ปุ๋ยมีปริมาณเกินดุลเฉลี่ย 0.5 กิโลกรัม N ต่อไร่และ 2.4 กิโลกรัม K O  ต่อไร่ ตามล าดับ แต่
                                                                                      2
                       ฟอสฟอรัสยังมีปริมาณขาดดุลเฉลี่ย 5.4  กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ส่วนกรรมวิธีที่ใส่ปุ๋ยเคมี 15-15-15
                                                                    2 5
                       กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่ ท าให้ไนโตรเจนและโพแทสเซียมมีปริมาณเกินดุลเฉลี่ย 8.5 กิโลกรัม N
                                  2 5 2
                       ต่อไร่ และ 6.3 กิโลกรัม K O ต่อไร่ ตามล าดับ แต่ฟอสฟอรัสยังมีปริมาณขาดดุลเฉลี่ย 3.9 กิโลกรัม
                                             2
                       P O ต่อไร่ การใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับการใส่มูลไก่ท าให้ธาตุอาหารในพื้นที่มีค่าเกินดุลหรือมีธาตุอาหาร
                        2 5
                       เหลือตกค้างในดินมากกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวอย่างเห็นได้ชัดว่า การปลูกข้าวโพดโดยใช้
                       ปุ๋ยเคมี 6-3-3  กิโลกรัม N-P O -K O  ต่อไร่ ร่วมกับมูลไก่ 400  กิโลกรัมต่อไร่ ยังคงมีปริมาณธาตุ
                                               2 5 2
                       อาหารเกินดุล โดยที่ข้าวโพดให้ผลผลิตเฉลี่ย 957  กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่ากรรมวิธีที่ไม่ใส่ปุ๋ย (618
                       กิโลกรัมต่อไร่) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ศุภกาญจน์ และคณะ, 2553)
                              ส าหรับความต้องการธาตุอาหารของข้าวโพดนั้น พบว่า ธาตุไนโตรเจน (N) มีบทบาทส าคัญ

                       ต่อข้าวโพดตลอดอายุการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะการเจริญเติบโตแรกจนถึงการสร้างเมล็ด ระยะที่
                       ข้าวโพดต้องการธาตุไนโตรเจนมากที่สุดคือ ระยะที่ข้าวโพดออกดอกตัวผู้และตัวเมีย จากการ
                       วิเคราะห์ทางเคมี พบว่าในช่วงอายุข้าวโพดประมาณ 18-30 วันและ 39-65  วัน ปริมาณการดูดใช้
                       ธาตุไนโตรเจนสูงถึง 7  กิโลกรัมต่อไร่ และ 50  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ดังนั้นถ้าในช่วงอายุการ
                       เจริญเติบโตหากปริมาณธาตุไนโตรเจนในดินมีไม่เพียงพอจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและ

                       ผลผลิตของข้าวโพด ธาตุฟอสฟอรัส นับว่าเป็นธาตุอาหารที่มีความส าคัญต่อการเจริญเติบโตของ
                       ข้าวโพดไม่น้อยไปกว่าธาตุไนโตรเจน จากการศึกษาพบว่าข้าวโพดตอบสนองต่อปุ๋ยฟอสฟอรัสตลอด
                       ฤดูปลูกเช่นกัน แต่มีความต้องการในระยะเริ่มแรกมากกว่าในระยะอื่นๆ อย่างไรก็ตามในระยะที่

                       ข้าวโพดออกดอกตัวผู้และตัวเมีย ธาตุฟอสฟอรัสก็มีบทบาทที่ส าคัญในการช่วยเสริมสร้างความอุดม
                       สมบูรณ์ให้กับต้นและเมล็ดเช่นกัน และพบอีกว่าการดูดใช้ธาตุฟอสฟอรัสจากดินของรากข้าวโพดจะ
                       เพิ่มขึ้นจนกระทั่งเมื่อรากเจริญเติบโตเต็มที่ ฉะนั้นจากเหตุดังกล่าวจึงแนะน าให้ใส่ปุ๋ยฟอสเฟต
                       ทั้งหมดตั้งแต่ตอนปลูก และโพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารอีกชนิดหนึ่งที่มีบทบาทส าคัญในการสร้าง

                       ความเจริญเติบโตและความแข็งแรงของล าต้นและการสร้างเมล็ด แต่ในสภาพดินปลูกข้าวโพดใน
                       ประเทศไทยมีธาตุดังกล่าวอยู่สูง จึงมักไม่ค่อยพบว่าธาตุนี้มีปัญหาต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด
                       จากเอกสารข้อมูลพบว่าหนึ่งในสามของธาตุโพแทสเซียมนี้ข้าวโพดจะน าไปใช้ในการสร้างเมล็ด และ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19