Page 19 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
ตารางที่ 2 ทรัพยากรดิน โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ต าบลพญาแก้ว อ าเภอเชียงกลาง
จังหวัดน่าน
พื้นที่
สัญลักษณ์ หน่วยแผนที่ดิน ค าอธิบาย ร้อยละ
(ไร่)
1 AC-spd-clA/d ,E ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน มีเนื้อดินบนเป็น 11 0.91
5 0
ดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0-2
เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน
2 AC-spd-clB/d ,E ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน มีเนื้อดินบนเป็น 11 0.91
5 0
ดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 2-5
เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน
3 Ws-clA/d ,E ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน 168 13.94
3 1
ดินเหนียว ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
ลึกปานกลาง กร่อนเล็กน้อย
4 Ws-clB/d ,E ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน 141 11.70
3 1
ดินเหนียว ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
ลึกปานกลาง กร่อนเล็กน้อย
5 Ws-clC/d ,E ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน 714 59.26
3 1
ดินเหนียว ความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์
ลึกปานกลาง กร่อนเล็กน้อย
6 Ws-clD/d ,E ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน 50 4.15
3 2
ดินเหนียว ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์
ลึกปานกลาง กร่อนปานกลาง
7 Ws-clE/d ,E ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปน 110 9.13
3 2
ดินเหนียว ความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์
ลึกปานกลาง กร่อนปานกลาง
ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 (2558)