Page 15 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7





                   ตารางที่ 1 สถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจวัดอากาศ อ าเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน (ปี พ.ศ. 2547–2558)

                                                              อุณหภูมิ                          ค่าศักย์    0.5 ของ
                                  ปริมาณ    จ านวน         (องศาเซลเซียส)         ความชื้น                  ค่าศักย์
                       เดือน       น้ าฝน     วัน                                 สัมพัทธ์   การคายระเหย    การคาย
                                                                                                 น้ า
                                 (มิลลิเมตร)   ฝนตก   สูงสุด   ต่ าสุด   เฉลี่ย   (เปอร์เซ็นต์)            ระเหยน้ า
                                                                                              (มิลลิเมตร)*
                                                                                                           (มิลลิเมตร)
                   มกราคม         14.53       5.1     31.94  11.64  21.79         85.54         87.40       43.70
                   กุมภาพันธ์      7.93       3.2     35.24  14.09  24.67         81.71         94.30       47.15
                   มีนาคม         39.27       3.1     37.78  15.93  26.85         77.41        130.70       65.35

                   เมษายน         106.89     10.2     37.95  20.56  29.25         78.28        144.20       72.10
                   พฤษภาคม        167.68     15.6     36.75  22.35  29.55         83.29        131.40       65.70
                   มิถุนายน       157.29     18.4     35.59  23.13  29.36         84.91        120.20       60.10

                   กรกฎาคม        229.40     20.8     34.62  22.89  28.75         87.08        106.00       53.00
                   สิงหาคม        287.72     24.6     33.90  22.12  28.01         88.55        105.70       52.85
                   กันยายน        217.81     16.4     34.21  22.51  28.36         87.87        106.00       53.00

                   ตุลาคม         69.84       7.7     33.78  20.18  26.98         86.99        105.20       52.60
                   พฤศจิกายน      19.01       3.4     32.91  16.74  24.83         86.86         85.30       42.65
                   ธันวาคม        18.13       1.4     31.29  12.33  21.81         85.86         71.40       35.70
                       รวม       1,335.48    129.9   415.96  224.37  320.21        1,014       1,287.8         -

                      เฉลี่ย         -         -     34.66  18.69  26.68                          -            -

                   ที่มา : ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ (2559)
                   หมายเหตุ : * ค านวณจากโปรแกรม CropWat

                          จากตัวเลขสถิติข้อมูลสภาพภูมิอากาศ  เฉลี่ยในรอบ  12  ปี  (พ.ศ.  2547-2558)  ของอ าเภอ

                   ท่าวังผา จังหวัดน่าน (ตารางที่ 1) เมื่อน าค่าปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย ค่าศักย์การคายระเหยน้ า และ 0.5 ของค่า
                   ศักย์การคายระเหยน้ า มาวิเคราะห์สภาพสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร (ภาพที่ 2) สรุปได้ดังนี้
                            1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช อยู่ในช่วงปลายเดือนมีนาคม ถึงปลายเดือน
                   ตุลาคม เป็นช่วงที่มีค่าปริมาณน้ าฝนสูงกว่า 0.5 ของค่าศักย์การคายระเหยน้ า ดินมีความชื้นพอเหมาะ

                   ต่อการเพาะปลูก ดินอุ้มน้ าได้เต็มที่ ซึ่งแม้จะมีฝนตกน้อยแต่ในดินยังมีความชื้นสะสมอยู่มากพอที่พืชจะ
                   น าไปใช้ประโยชน์ได้ จึงคาดคะเนได้ว่า ในช่วงนี้เป็นช่วงที่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชโดยอาศัยน้ าฝน
                            2) ช่วงระยะเวลาที่มีน้ ามากเกินพอ อยู่ในช่วงตั้งแต่ต้นเดือน พฤษภาคม ถึงต้นเดือน ตุลาคม

                   เป็นช่วงที่มีค่าปริมาณน้ าฝนสูงกว่าค่าศักย์การคายระเหยน้ า
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20