Page 10 - การใช้ผลิตภัณฑ์กรมพัฒนาที่ดินเพื่อการจัดการดินที่เหมาะสมเพื่อปลูกลำไยในกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง ในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ภายใต้โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
P. 10
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
การผลิต และลดต้นทุนการผลิต และท าให้เกษตรกรผลิตล าไยได้เกรด AA มากขึ้น มีผลตอบแทน
ทางเศรษฐกิจดีขึ้น
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินในการผลิตล าไยแปลงใหญ่ ต าบลพญาแก้ว
อ าเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
1.2.2 เพื่อศึกษาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการดินของล าไยแปลงใหญ่ ต าบลพญาแก้ว
อ าเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
1.2.3 เพื่อศึกษาต้นทุนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตล าไยแปลงใหญ่ ต าบลพญาแก้ว
อ าเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน
1.3 ขอบเขตการด าเนินงาน
เป็นการศึกษาการจัดการดินที่เหมาะสมในการผลิตล าไยแปลงใหญ่ในพื้นที่ต าบลพญาแก้ว
อ าเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน กลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง โดยใช้ผลิตภัณฑ์ด้านการปรับปรุงบ ารุงดิน
ของกรมพัฒนาที่ดินเพื่อลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตล าไย ชื่อเจ้าของแปลง
นายสมรรถพล ขอดเตชะ สถานที่ด าเนินการ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
อ าเภอเชียงกลาง บ้านพญาแก้ว หมู่ที่ 4 ต าบลพญาแก้ว อ าเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ปลูกล าไยพันธุ์อีดอ
โดยมีการเก็บตัวอย่างดินก่อนและหลังด าเนินการ วิเคราะห์สมบัติทางเคมี มีการจัดการปุ๋ยส าหรับล าไย
ตามค าแนะน าการใช้ปุ๋ยจากห้องปฏิบัติการ มีการใช้ปูนโดโลไมท์ปรับปรุงดินกรด มีการใช้ปุ๋ยหมัก
น้ าหมักชีวภาพในการปรับปรุงบ ารุงดิน และมีการใช้สารไล่แมลงจากสมุนไพรร่วมกับสารชีวภัณฑ์ในการ
ควบคุมศัตรูพืช ศึกษาผลผลิตต่อไร่และต้นทุนผลตอบแทนต่อไร่
1.4 ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินงาน
ระยะเวลาในการด าเนินงาน รวม 2 ปี เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 สิ้นสุดเดือนกันยายน 2560
สถานที่ด าเนินงาน ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ าเภอเชียงกลาง
บ้านพญาแก้ว หมู่ที่ 4 ต าบลพญาแก้ว อ าเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน พิกัด UTM zone 47Q 699978E
2132615N ลักษณะดินเป็นกลุ่มชุดดินที่ 55 ชุดดินวังสะพุง (Ws) การจ าแนกดิน จัดอยู่ใน Fine, mixed,
semiactive, isohyperthermic Typic Haplustalfs เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอน
เนื้อละเอียด และหินที่แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่น
ลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา มีความลาดชัน 12 เปอร์เซ็น เป็นดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ าดี เนื้อดิน
บนหนาประมาณ 15-25 เซนติเมตร มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้ าตาลถึงสีน้ าตาลเข้ม
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก (pH 4.3) ส่วนดินล่างตอนบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว
สีน้ าตาลปนแดงถึงสีแดงปนเหลือง ดินล่างตอนล่างเป็นดินเหนียวปนเศษหินมาก สีน้ าตาลปนแดงถึงสีแดง