Page 34 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 34
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
การทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดิน
แยกตามช่วง pH
140
120
จ้านวนตัวอย่างทั้งหมด
100 จ้านวนตัวอย่างที่ %RSD < 10
จ้านวนตัวอย่าง 80 จ้านวนตัวอย่างที่ %RSD ≥ 10
60
40
20
0
3.5-4.5 4.6-5.0 5.1-5.5 5.6-6.0 6.1-6.5 6.6-7.3 7.4-7.8 7.9-8.4
ช่วง pH
ภาพที่ 13 แสดงผลการทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดิน แยกตามช่วง pH ของ
ตัวอย่างดิน 630 ตัวอย่าง
4. การเตรียมสารละลายเทียบสีมาตรฐานส้าหรับการวิเคราะห์ปริมาณไนเตรทในดินอย่างง่าย
การเตรียมกราฟสารละลายเทียบสีมาตรฐานจากสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาของการ
วิเคราะห์ไนเตรท ผลการศึกษา พบว่า สีของสารละลายเข้มขึ้นตามความเข้มข้นของไนเตรทที่เพิ่มขึ้น
ด้วย ดังแสดงในภาพที่ 14 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารละลายเทียบสีมาตรฐานไนเตรท
2
กับค่าการดูดกลืนแสงที่ได้มีลักษณะเป็นเส้นตรง มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R ) เท่ากับ 0.9975 ดัง
แสดงในภาพที่ 15 และค่าการดูดกลืนแสงมีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของสารละลายเทียบสีมาตรฐาน
ดังแสดงในตารางที่ 6 และตารางผนวกที่ 10