Page 33 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                         26





                       3. การทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดินในห้องปฏิบัติการ
                              เมื่อน าสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาของการวิเคราะห์ไนเตรทในดินที่ได้ศึกษาไว้มา

                       วิเคราะห์หาปริมาณไนเตรทของสารละลายที่สกัดได้จากตัวอย่างดิน จ านวน 630  ตัวอย่าง  โดยแต่ละ
                       ตัวอย่างดิน ทดสอบซ้ า  3  ครั้ง  ผลการศึกษา พบว่า ตัวอย่างดินจ านวน 598  ตัวอย่าง มีค่าเบี่ยงเบน
                       มาตรฐานสัมพันธ์ (%RSD) น้อยกว่า 10 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ คิดเป็นร้อยละ 95 และมีตัวอย่าง

                       ดินจ านวน 32 ตัวอย่าง ที่มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพันธ์ (%RSD) มากกว่าหรือเท่ากับ 10 ซึ่งไม่อยู่ใน
                       เกณฑ์ที่ยอมรับได้ คิดเป็นร้อยละ 5 ดังแสดงในภาพที่ 12 และตารางผนวกที่ 8 และ 9



                                       การทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดิน

                                   800

                                                  598 ตัวอย่าง
                                   600
                                  จ้านวนตัวอย่าง   400


                                   200
                                                                                32 ตัวอย่าง
                                     0
                                                     < 10         %RSD            ≥ 10



                       ภาพที่ 12  แสดงผลการทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดินจากสภาวะที่เหมาะสมใน

                                 การเกิดปฏิกิริยาของตัวอย่างดิน 630 ตัวอย่าง


                            จากตัวอย่างดิน 32 ตัวอย่าง ที่ไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ เนื่องจาก %RSD มากกว่าหรือเท่ากับ
                       10 พบในช่วง pH 3.5-4.5, 4.6-5.0, 5.1-5.5, 5.6-6.0, 6.1-6.5 และ 6.6-7.3 แสดงว่า ค่า pH ไม่มีผล

                       ต่อการทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดิน ดังแสดงในภาพที่ 13 และตารางผนวกที่ 9
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38