Page 26 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                         19





                              4.3.3 ทดสอบความใช้ได้ (ความแม่นย า หรือ Precision) ของการวิเคราะห์ไนเตรทจากสภาวะ
                       ที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยา
                                   น าสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาของการวิเคราะห์ไนเตรทที่ได้ศึกษาไว้แล้วใน
                       ข้อที่  4.1  มาวิเคราะห์หาไนเตรทของสารละลายที่สกัดได้จากตัวอย่างดิน น าสารละลายทั้งหมดไปวัด

                       ค่าการดูดกลืนแสง (Abs) ด้วยเครื่อง UV-Vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 530 นาโนเมตร
                       โดยแต่ละตัวอย่างดินทดสอบซ้ า 3  ครั้ง น าผลที่ได้มาค านวณหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                       จากนั้นน าไปค านวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพันธ์ (RSD) รายงานหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) โดยเกณฑ์
                       การยอมรับได้ โดยทั่วไป ค่า %RSD จะต้องมีค่าน้อยกว่า 10


                                            %RSD         =       SD  x  100
                                                                 X


                                   เมื่อ  SD  =  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
                                        X   =  ค่าเฉลี่ย (ทดสอบซ้ า 3 ครั้ง)



                       4.4  การเตรียมสารละลายเทียบสีมาตรฐานส้าหรับการวิเคราะห์ไนเตรทในดินอย่างง่าย

                              เตรียมจากสารละลายเทียบสีมาตรฐาน ข้อ 3.9  โดยใช้สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยา

                       ของการวิเคราะห์ไนเตรทที่ได้ศึกษาไว้แล้วในข้อ 4.1 จากนั้นน าสารละลายทั้งหมดไปวัดค่าการดูดกลืน
                       แสง (Abs)  ด้วยเครื่อง  UV-Vis  Spectrophotometer  ที่ความยาวคลื่น 530 นาโนเมตร เทียบกับ
                       สารละลายแบลงค์ที่ใช้น้ ากลั่นแทนสารละลายมาตรฐานไนเตรท พร้อมกับสังเกตสีของสารละลาย
                       ท าการทดสอบซ้ าความเข้มข้นละ 5 ครั้ง น าค่าการดูดกลืนแสง (Abs) ที่ได้มาสร้างกราฟของสารละลาย
                       เทียบสีมาตรฐานแสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างค่าการดูดกลืนแสงกับความเข้มข้นของสารละลาย

                       เทียบสีมาตรฐานไนเตรท



                       4.5  การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ไนเตรทในดินด้วยสารละลายเทียบสีมาตรฐานกับเครื่อง UV-Vis

                       Spectrophotometer

                              4.5.1 การเตรียมตัวอย่างดิน

                                   คัดเลือกตัวอย่างดิน จ านวน 300 ตัวอย่าง ที่มีค่า pH อยู่ในช่วง 3.5-8.4  โดยแบ่งช่วง
                       ออกเป็น 8 ระดับ ตามข้อ 4.3.1
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31