Page 25 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                         18





                       4.2  การเตรียมกราฟสารละลายมาตรฐานไนเตรท
                              ท าเพื่อศึกษาช่วง (Range)  และความเป็นเส้นตรง (Linearity)  ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์
                       ปริมาณไนเตรทจากสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาที่ได้ศึกษาไว้ โดยเตรียมกราฟของสารละลาย
                                                              -
                       มาตรฐานไนเตรทจาก Standard  Curve  NO  ข้อ 3.8  โดยใช้สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยา
                                                             3
                       ของการวิเคราะห์ไนเตรทที่ได้ศึกษาไว้แล้วในข้อ  4.1  น าสารละลายทั้งหมดไปวัดค่าการดูดกลืนแสง
                       (Abs) ด้วยเครื่อง UV-Vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 530 นาโนเมตร พร้อมกับสังเกตสี
                       ของสารละลาย ท าการทดสอบซ้ าความเข้มข้นละ 5 ครั้ง จากนั้นน าค่าการดูดกลืนแสง (Abs) ที่ได้มา
                       สร้างกราฟของสารละลายมาตรฐานแสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างค่าการดูดกลืนแสง (แกนตั้ง) กับ

                       ความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานไนเตรท (แกนนอน) ค านวณหาสมการการถดถอยเชิงเส้น และค่า
                                           2
                                                                             2
                       สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R ) โดยเกณฑ์การยอมรับได้โดยทั่วไป ค่า R  จะต้องมีค่าอยู่ระหว่าง 0.995-1.000
                       (อุมาพร, ม.ป.ป.)



                       4.3  การทดสอบความใช้ได้ของการวิเคราะห์ไนเตรทในดินในห้องปฏิบัติการ

                              4.3.1 การเตรียมตัวอย่างดิน

                                   คัดเลือกตัวอย่างดิน จ านวน 630  ตัวอย่าง ที่มีค่า pH  อยู่ในช่วง 3.5-8.4 โดยแบ่งช่วง
                       ออกเป็น 8 ระดับ ดังแสดงในตารางที่ 1


                       ตารางที่ 1  ช่วงความเป็นกรดเป็นด่างของดิน

                                           ระดับ (rating)           พิสัย (range)

                                           กรดรุนแรงมาก              3.5 – 4.5
                                           กรดจัดมาก                 4.6 – 5.0
                                           กรดจัด                    5.1 – 5.5
                                           กรดปานกลาง                5.6 – 6.0

                                           กรดเล็กน้อย               6.1 – 6.5
                                           กลาง                      6.6 – 7.3
                                           ด่างเล็กน้อย              7.4 – 7.8
                                           ด่างปานกลาง               7.9 – 8.4

                       ที่มา : ดัดแปลงจาก ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547

                              4.3.2 การสกัดตัวอย่างดินด้วยน้ ายาสกัด Mehlich I
                                   -  ชั่งตัวอย่างดิน 5 กรัม ใส่ขวดรูปชมพู่ขนาด 50 มิลลิลิตร
                                   -  เติมน้ ายาสกัด Mehlich I จ านวน 20 มิลลิลิตร

                                   -  เขย่าด้วยเครื่องเขย่าแนวระนาบ ที่ความเร็ว 200 รอบต่อนาที นาน 5 นาที
                                   -  กรองด้วยกระดาษกรอง Whatman เบอร์ 5 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 125 มิลลิเมตร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30