Page 24 - วิธีวิเคราะห์ไนเตรทอย่างง่ายในห้องปฏิบัติการด้วยน้ำยาสกัด Mehlich I
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                         17





                       4. วิธีด้าเนินการ
                              งานวิจัยนี้ ดัดแปลงมาจากวิทยานิพนธ์ของศิริพร (2555) ซึ่งศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดทดสอบ
                       ปริมาณแอมโมเนียและไนเตรทในน้ าภาคสนามส าหรับโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลม
                       ผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีการศึกษาดังต่อไปนี้

                       4.1  การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาของการวิเคราะห์ไนเตรท

                              ปัจจัยที่ท าการศึกษา คือ ปริมาณของสารเคมี ซึ่งสารเคมีที่ท าการศึกษา  ได้แก่ ปริมาตรของ

                       Reagent A, ปริมาณของ Mixed powder และระยะเวลาที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์
                       โดยการศึกษานี้เลือกใช้สารละลายมาตรฐานไนเตรทเข้มข้น 5.0 และ 10.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ปริมาตร
                       ความเข้มข้นละ 5 มิลลิลิตร

                              4.1.1 ศึกษาปริมาตรของ Reagent A
                                   ปิเปตสารละลายมาตรฐานไนเตรทความเข้มข้น  5.0  และ 10.0  มิลลิกรัมต่อลิตร

                       ปริมาตรความเข้มข้นละ 5 มิลลิลิตร ใส่ลงในหลอดทดลอง เติม Reagent A ปริมาตร 0.5, 1.0, 1.5
                       และ 2.0 มิลลิลิตร ตามล าดับ จากนั้นเติม Mixed powder 0.04 กรัม เขย่าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที
                       เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ น าสารละลายทั้งหมดไปวัดค่าการดูดกลืนแสง (Abs) ด้วยเครื่อง UV-Vis

                       Spectrophotometer  ที่ความยาวคลื่น 530 นาโนเมตร เทียบกับสารละลายแบลงค์ที่ใช้น้ ากลั่นแทน
                       สารละลายมาตรฐานไนเตรท พร้อมกับสังเกตสีของสารละลาย ท าการทดสอบซ้ าความเข้มข้นละ 5 ครั้ง
                              4.1.2 ศึกษาปริมาณของ Mixed powder
                                   ปิเปตสารละลายมาตรฐานไนเตรทความเข้มข้น  5.0  และ 10.0  มิลลิกรัมต่อลิตร

                       ปริมาตรความเข้มข้นละ 5 มิลลิลิตร ใส่ลงในหลอดทดลอง เติม Reagent A ตามปริมาตรที่เหมาะสมที่
                       ได้ศึกษาไว้ในข้อที่ 4.1.1 จากนั้นเติม Mixed powder ปริมาณ 0.02, 0.04, 0.08 และ 0.12 กรัม
                       ตามล าดับ เขย่าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ 30 นาที เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ น าสารละลายทั้งหมดไป
                       วัดค่าการดูดกลืนแสง (Abs) ด้วยเครื่อง UV-Vis Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 530 นาโน-

                       เมตร เทียบกับสารละลายแบลงค์ที่ใช้น้ ากลั่นแทนสารละลายมาตรฐานไนเตรท  พร้อมกับสังเกตสีของ
                       สารละลาย ท าการทดสอบซ้ าความเข้มข้นละ 5 ครั้ง
                              4.1.3 ศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์
                                   ปิเปตสารละลายมาตรฐานไนเตรทความเข้มข้น  5.0  และ 10.0  มิลลิกรัมต่อลิตร

                       ปริมาตรความเข้มข้นละ 5 มิลลิลิตร ใส่ลงในหลอดทดลอง เติม Reagent A ตามปริมาตรที่เหมาะสมที่
                       ได้ศึกษาไว้ในข้อที่ 4.1.1 เติม Mixed powder ตามปริมาณที่เหมาะสมที่ได้ศึกษาไว้ในข้อที่ 4.1.2 เขย่า
                       ให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้เพื่อให้เกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์ที่เวลา 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 นาที ตามล าดับ

                       น าสารละลายทั้งหมดไปวัดค่าการดูดกลืนแสง  (Abs)  ด้วยเครื่อง UV-Vis  Spectrophotometer  ที่
                       ความยาวคลื่น 530 นาโนเมตร เทียบกับสารละลายแบลงค์ที่ใช้น้ ากลั่นแทนสารละลายมาตรฐาน
                       ไนเตรท พร้อมกับสังเกตสีของสารละลาย ท าการทดสอบซ้ าความเข้มข้นละ 5 ครั้ง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29