Page 58 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         47






                                     9.4 วิเคราะห์สภาพปัญหา แนวทางการแก้ไข โดยการก าหนดกิจกรรมที่จะใช้ในระบบ

                       อนุรักษ์ดินและน้ า ก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า ทั้งวิธีกลและวิธีพืช และการปรับปรุงบ ารุงดิน
                                     9.5 ก าหนดแนวทางการวิจัยและประเมินผลจากการด าเนินงานตามมาตรการอนุรักษ์
                       ดินและน้ า
                               10. วิเคราะห์ปัญหาจากข้อมูลพื้นฐานและยกร่างแผนการด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและ

                       น้ า ในพื้นที่ด าเนินการ
                                     10.1  คณะท างานส ารวจและออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พิจารณาข้อมูล และ
                       วิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่ ส าหรับการแก้ไขปัญหาและการจัดการ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดท า
                       แผนการด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และการปรับปรุงดินในพื้นที่ด าเนินการ (ฉบับร่าง)

                                     10.2  คณะท างานส ารวจและออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ขอรับการสนับสนุน
                       ข้อมูล และค าแนะน าทางวิชาการจากส่วนกลาง ดังนี้
                                          10.2.1 ค าแนะน าและการออกแบบอนุรักษ์ดินและน้ า จากส านักวิจัยและ
                       พัฒนาการจัดการที่ดิน (สวจ.)

                                          10.2.2 ค าแนะน าการใช้ปุ๋ยตามผลวิเคราะห์ดิน จากส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการ
                       พัฒนาที่ดิน (สวด.)
                                          10.2.3 งานก่อสร้างแหล่งน้ า จากส านักวิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดิน (สวพ.)

                       3.5 การประเมินการสูญเสียดิน

                              การประเมินการสูญเสียดิน ส าหรับการศึกษาและประเมินค่าการสูญเสียดินมีหลายวิธีด้วยกัน

                       โดยสมการการสูญเสียดินสากล (universal  soil  loss  equation  :  USLE) เป็นการประเมินที่มีผู้ใช้
                       อย่างแพร่หลาย กรมพัฒนาที่ดินใด้น าวิธีการนี้มาศึกษาและใช้ประโยชน์ในการประเมินอัตราการชะล้าง

                       พังทลายของดินในประเทศไทยเป็นระยะเวลานาน วิธีการศึกษาการชะล้างพังทลายของดินดังกล่าว
                       U.S. Department of agriculture (USDA) ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาและเริ่มต้นใช้งานสมการ

                       การสูญเสียดินสากลตั้งแต่ปี ค.ศ.1961 และต่อมาในปี ค.ศ. 1978 ทาง Wischmerier และ Smith ได้
                       ปรับปรุงแก้ไขใหม่ โดยมีรูปแบบของสมการดังนี้ A=RKLSCP

                              A คือ ค่าเฉลี่ยปริมาณดินที่สูญเสีย (Soil Loss) ของแปลงปลูกพืชต่อหน่วยพื้นที่
                              R คือค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (Rainfall and runoff erosivity factor)

                                เป็นค่าความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ของเม็ดฝนที่ตกกระทบผิวหน้าดินกับปริมาณ
                                ความหนาแน่นของฝน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
                              K คือ ค่าปัจจัยความคงทนของดิน (Soil erodibility factor)
                              L คือ ค่าปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (Slope length factor)
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63