Page 59 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         48






                              S คือ ค่าปัจจัยความลาดชัน (Slope steepness factor)

                              C คือ ค่าปัจจัยพืชและการจัดการ (Crop management factor)
                              P คือ ค่าปัจจัยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (Conservation practice factor)
                              อย่างไรก็ตาม สมการสูญเสียดินสากล (USLE) ยังคงมีการใช้กันอย่างกว้างขวางในการประเมิน
                       ปริมาณการสูญเสียดินและการวางแผนอนุรักษ์ดินให้เหมาะสมกับอัตราการสูญเสียดินและชนิดของพืชที่

                       จะปลูก ช่วยในการปรับปรุงและบ ารุงดิน ซึ่งสมการดังกล่าวก็สามารถใช้ประเมินอัตราการชะล้าง
                       พังทลายของดินรายปีได้เป็นที่น่าพอใจ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)

                       3.6 การประเมินปริมาณน  าไหลบ่าและอัตราการไหลบ่าของน  า
                              ไหลบ่าบนผิวดิน หมายถึง ปริมาณน้ าทั้งหมดที่ไหลจากผิวดินลงสู่ร่องน้ า ล าห้วยหรือล าคลอง
                       น้ าไหลบ่าบนผิวดิน คือน้ าฝนที่ตกลงมาบนพื้นที่ใดที่หนึ่งแล้วถูกซึมซับลงในดิน พืชดูดไม่ได้ ถูกกักเก็บไว้

                       ในพื้นที่หรือละเหยไปในอากาศ น้ าที่เหลือจากขบวนการต่างๆ แล้วไหลลงสู่ร่องน้ า ล าห้วยหรือล าคลอง
                       คือน้ าไหลบ่า (ไชยสิทธิ์, 2553)
                              สูตรขั้นพื้นฐานที่ใช้ในการออกแบบโครงสร้างอนุรักษ์ดินและน้ า ใช้สูตรเพื่อวิเคราะห์อัตราการ

                       ไหลบ่าและปริมาณของน้ าไหลบ่า ดังนี้
                                         1.  การประเมินอัตราของน้ าไหลบ่า ประเมินโดยใช้วิธีการ Rational  Method
                       โดยใช้สูตร อัตราการไหลบ่า (q) ดังนี้
                                               q = CiA     หรือ  =   0.00278 CiA ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                                                  360

                                                   q  =  อัตราของน้ าไหล่บ่าสูงสุด มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                                                   C  =  สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า
                                                    i  =  ความรุนแรงของน้ าฝน มีหน่วยเป็น มิลลิเมตรต่อชั่วโมง

                                                   A  =  พื้นที่ของบริเวณรับน้ า มีหน่วยเป็น เฮกตาร์
                              กรณีการแปลงสูตรเป็นไร่ใช้สูตร
                                               q = CiA
                                               360x6.25

                                         2.  การประเมินปริมาณของน้ าไหลบ่า (Q) ใช้สูตร
                                                   Q = CIA
                                                   Q  =  ปริมาณน้ าไหลบ่า มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร
                                                   C  =  สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า

                                                    I  =  ปริมาณของน้ าฝน มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อปี
                                                   A  =  พื้นที่รับน้ าฝนมีหน่วยเป็นเฮกตาร์
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64