Page 16 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7







                       2.2 สภาพภูมิอากาศ
                              ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดตราด ตามระบบการจ่าแนกของ Köppen เป็นแบบมรสุมเขต
                       ร้อน (Tropical monsoon climate : Am) คือ ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมที่พัดผ่านเป็นประจ่า ท่า

                       ให้มีฝนตกชุก โดยในเดือนที่แล้งที่สุดจะมีปริมาณน้่าฝนเฉลี่ยน้อยกว่า 60  มิลลิเมตร สามารถแบ่ง

                       ฤดูกาลออกได้เป็น 2 ฤดู คือ
                                     ฤดูฝน ระยะเวลา 7 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ปริมาณน้่าฝน

                       เฉลี่ยรายเดือนในช่วงนี้ อยู่ระหว่าง 216.71 – 1,188.9 มิลลิเมตร
                                     ฤดูแล้ง ระยะเวลา 5 เดือน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม ซึ่งในช่วงนี้

                       จะมีฝนบ้างเล็กน้อย อยู่ระหว่าง 30.63 – 136.48 มิลลิเมตร
                              จากข้อมูลสถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจอากาศจังหวัดตราดในรอบ 10 ปี (พ.ศ.2547  –

                       2556)  (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2557)  ได้น่ามาใช้พิจารณาเป็นตัวแทนลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่ต่าบล
                       สรุปได้ดังนี้ (ตารางที่ 1 และภาพที่ 2)

                              ปริมาณน้่าฝนเฉลี่ยรวมของจังหวัดตราด พบว่า มีปริมาณน้่าฝนเอยู่ในเกณฑ์สูง คือ
                       5,000.09 มิลลิเมตรต่อปี จ่านวนวันฝนตกรวมตลอดปีเฉลี่ย 204 วัน ช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน

                       เมษายนเป็นระยะที่ฝนตกน้อย โดยในเดือนธันวาคมเป็นเดือนที่ฝนตกน้อยที่สุดเฉลี่ย 30.63
                       มิลลิเมตร ปริมาณฝนตกเพิ่มมากขึ้นในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน และในช่วงตั้งแต่เดือน

                       พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเป็นระยะที่ฝนตกชุก โดยเดือนกรกฎาคมมีปริมาณฝนตกมากที่สุดเฉลี่ย
                       1,188.90 มิลลิเมตร

                              อุณหภูมิเฉลี่ยของจังหวัดตราด พบว่า มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.50 องศาเซลเซียส
                       อุณหภูมิต่่าสุดเฉลี่ยรายเดือนในเดือนมกราคมประมาณ 26.85 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยราย

                       เดือนสูงสุดในเดือนเมษายนประมาณ 28.51  องศาเซลเซียส โดยในแต่ละเดือนอุณหภูมิเฉลี่ยมีค่า
                       แตกต่างกันไม่มากนัก

                              ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยของจังหวัดตราด พบว่า ค่าความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปีเท่ากับ 81.19
                       เปอร์เซ็นต์  ความชื้นสัมพัทธ์จะสูงในช่วงระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน โดยในช่วงเดือน

                       กรกฎาคมถึงเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีค่าความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดเฉลี่ย 87.80  เปอร์เซ็นต์  และช่วง
                       ตั้งแต่เดือนธันวาคมค่าความชื้นสัมพัทธ์จะลดต่่าลง โดยมีค่าความชื้นสัมพัทธ์ต่่าสุดเฉลี่ย 69.30

                       เปอร์เซ็นต์
                              ส่าหรับการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม ได้จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์

                       ระหว่างปริมาณน้่าฝนเฉลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยของน้่าของพืชรายเดือนเฉลี่ย
                       โดยพิจารณาช่วงเวลาที่เส้นน้่าฝนอยู่เหนือเส้น 0.5  การคายระเหยของน้่าเป็นหลัก เพื่อหาช่วง

                       ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูกของต่าบล ผลการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกที่เหมาะสม
                       สามารถสรุปได้ดังนี้ (ภาพที่ 2)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21