Page 11 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 11

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         3







                                      4) วัสดุท่าสารสกัดสมุนไพรไล่แมลง และสมุนไพรรักษาโรครากเน่าโคนเน่า
                       ประกอบด้วย บอระเพ็ด ตะไคร้หอม เปลือกต้นมหาปราบ กากน้่าตาล และเชื้อสารเร่ง พด.7
                                      5) ปูนโดโลไมท์
                                      6) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน ได้แก่ จอบ เสียม สว่านเจาะดิน ถัง ถุงพลาสติก และเชือก

                                      7) อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ สมุดบันทึก กล้องถ่ายรูป เครื่องชั่ง

                              1.5.2. ขั้นตอนและวิธีการด่าเนินงาน
                                         1) ขั้นตอนและวิธีการด่าเนินงานในแปลง
                                      (1) คัดเลือกพื้นที่ โดยคัดเลือกจากแปลงหมอดินอาสาที่ปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง
                       และใช้เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดิน มีเนื้อที่ด่าเนินการ 2 ไร่ ปลูกทุเรียนจ่านวน 44 ต้น

                       (ภาพภาคผนวกที่ 1) รวมทั้งตรวจสอบลักษณะดินในแปลงโดยใช้แผนที่ดินต่าบลแหลมงอบ และใช้
                       สว่านเจาะเช็คดิน
                                      (2) เตรียมแปลงโดยการตัดหญ้าท่าความสะอาดแปลง และตรวจสภาพของต้น
                       ทุเรียน ระบบการให้น้่าตามช่วงเวลา โดยให้เกษตรกรเป็นผู้ดูแลแปลงตามค่าแนะน่าของเจ้าหน้าที่ที่

                       ด่าเนินงาน
                                      (3) การด่าเนินงาน น่าวิธีการจัดการดิน การใช้เทคโนโลยีชีวภาพและผลิตภัณฑ์
                       ของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ในแปลงปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง ประกอบด้วย
                                         ปรับสภาพดินกรดในแปลงด้วยปูนโดโลไมท์ตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยใช้ปูนโดโล

                       ไมท์ อัตรา 900 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียวในช่วงก่อนด่าเนินงาน ปี 2557 (ภาพภาคผนวกที่ 3)
                                         ปรับปรุงบ่ารุงดินและเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน ด้วยการใส่ปุ๋ยหมักชีวภาพ
                       จากสารเร่ง พด.1 ในอัตรา 60 กิโลกรัมต่อต้น โดยแบ่งใส่ 2 ครั้งๆ ละ 30 กิโลกรัมต่อต้น ในช่วงหลัง

                       การเก็บเกี่ยวผลผลิตและช่วงก่อนการออกดอก (ภาพภาคผนวกที่ 4)
                                         การป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียน โดยการขยายเชื้อสารเร่ง พด.3 ในร่า
                       ละเอียดและปุ๋ยหมักตามอัตราส่วน น่าปุ๋ยหมักที่ได้ไปใช้ในอัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี ใส่ในช่วงหลัง
                       การเก็บเกี่ยวผลผลิตของทุกปีที่ด่าเนินการ รวม 3 ครั้ง โดยเริ่มใส่ครั้งแรกในเดือน พฤษภาคม 2558
                       ครั้งที่ 2 ในเดือน พฤษภาคม 2559 และครั้งที่ 3 ในเดือน พฤษภาคม 2560

                                         การใช้น้่าหมักชีวภาพจากสารเร่ง พด.2 ซึ่งเป็นน้่าหมักจากเศษปลาผสมผลไม้
                       เพื่อปรับปรุงบ่ารุงดิน เพิ่มปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดิน และฮอร์โมนที่มีประโยชน์ต่อพืช ใช้
                       ในอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ ทุกๆ 10 วัน โดยปล่อยไปกับระบบการให้น้่าสปริงเกอร์ ตั้งแต่เริ่มด่าเนินการใน

                       เดือน ตุลาคม 2557 ไปจนถึงระยะเก็บผลผลิตครั้งแรกในเดือน พฤษภาคม 2558 และด่าเนินการใน
                       ลักษณะเดิมต่อเนื่องในทุกปีจนถึงปี 2560 (ภาพภาคผนวกที่ 5)
                                         ฉีดพ่นสมุนไพรไล่แมลงศัตรูพืช จากสารเร่ง พด.7  ซึ่งหมักจากสมุนไพรพวก
                       ตะไคร้หอม และบอระเพ็ด ใช้โดยการฉีดพ่นในช่วงที่มีแมลงศัตรูพืชรบกวนในแปลงทุเรียน โดยเฉพาะ

                       ในช่วงทุเรียนเริ่มแตกใบอ่อน ฉีดพ่นทุกๆ 7 วัน จนกว่าแมลงรบกวนจะหายไป ส่วนในต้นทุเรียนที่เกิด
                       อาการโรครากเน่าโคนเน่า ซึ่งมักจะเกิดบริเวณโคนต้น ล่าต้น และกิ่ง ใช้สมุนไพรที่หมักจากเปลือก
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16