Page 18 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         9





















                    ช่วงขาดน้ า                                                             ช่วงขาดน้ า

                                                      ช่วงน้่ามากเกินพอ

                                                      ช่วงเพาะปลูกพืช
                                                                                             น้่าที่ส่ารองไว้ในดิน
                       ภาพที่ 2  สมดุลของน้่าเพื่อการเกษตร จังหวัดตราด ปี พ.ศ.2547-2556


                       2.3 ลักษณะภูมิประเทศ

                              สภาพภูมิประเทศต่าบลแหลมงอบส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ที่ราบ
                       สลับเนินเขา เป็นผืนดินที่ราบยื่นไปในทะเล และพื้นที่บางส่วนติดทะเล ส่วนพื้นที่แปลงด่าเนินงาน
                       มีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย


                       2.4 ทรัพยากรดิน
                              2.4.1 ทรัพยากรดินในต่าบลแหลมงอบ
                                    ทรัพยากรดินที่พบในต่าบลแหลมงอบ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 13 14 25 45B  45B/53B
                       51C และ 62 (ตารางที่ 2) โดยพบปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ ดินเลนเค็มที่มีศักยภาพก่อให้เกิด
                       เป็นดินกรดก่ามะถัน (กลุ่มชุดดินที่ 13) ดินเปรี้ยวจัดที่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินเปรี้ยวจัด (กลุ่มชุด

                       ดินที่ 14) ดินตื้นในพื้นที่ลุ่ม (กลุ่มชุดดินที่ 25) ดินตื้นปนกรวดลูกรังในพื้นที่ดอน (กลุ่มชุดดินที่ 45B)
                       ดินตื้นปนเศษหินหรือถึงชั้นหินพื้นในพื้นที่ดอน (กลุ่มชุดดินที่ 51C) พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (กลุ่มชุดดิน
                       ที่ 62) (ภาพที่ 3) รายละเอียดของกลุ่มชุดดินมีดังนี้ (กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน, 2554)

                                    1) กลุ่มชุดดินที่ 13 เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากวัตถุต้นก่าเนิดดินพวกตะกอนน้่าทะเล ใน
                       บริเวณที่น้่าทะเลถึงและบริเวณชะวากทะเล เป็นกลุ่มชุดดินลึกที่มีการระบายน้่าเลวมาก เป็นดินเลน
                       เละ ที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินบนมีสีด่าปนเทา มีจุดประสีน้่าตาล
                       เล็กน้อยส่วนดินล่างเป็นดินเลนสีเทาแก่หรือสีเทาปนเขียว และพบเศษรากพืชปะปนในดินเป็นจ่านวน

                       มาก เป็นดินที่มีสารประกอบก่ามะถันปะปนอยู่มากตามปกติเมื่อดินจะเป็นกลางหรือเป็นด่างแต่เมื่อมี
                       การระบายน้่าออกไปหรือท่าให้ดินแห้ง สารประกอบก่ามะถันจะแปรสภาพปลดปล่อยกรดก่ามะถัน
                       ออกมา ท่าให้ดินเป็นกรดจัดมาก ดินกลุ่มนี้จัดเป็นดินเค็มที่มีกรดแฝงอยู่ มีความอุดมสมบูรณ์ตาม
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23