Page 19 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10







                       ธรรมชาติปานกลางถึงระบายน้่าออกหรือท่าให้ดินแห้ง ค่าปฏิกิริยาจะลดลงเป็นกรดจัดมากถึงเป็น
                       กรดจัด ค่าการเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.0 กลุ่มชุดดินที่ 13 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ
                                   หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 13 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 495
                       ไร่ หรือ 3.02 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่

                                          2) กลุ่มชุดดินที่ 14 เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากวัตถุต้นก่าเนินดินพวกตะกอนล่าน้่าและ
                       ตะกอนทะเล พบในบริเวณที่ลุ่มภาคกลางหรือพื้นที่ชายฝั่งทะเล เป็นกลุ่มดินลึกที่มีการระบายน้่าเลว
                       มีน้่าท่วมขังในฤดูฝน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียว สีด่าหรือสีเทา ดินล่างเป็นดิน
                       เหนียวสีเทา มีจุประสีน้่าตาล สีน้่าตาลปนเหลือง หรือสีแดง มักพบชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสี

                       เหลืองฟางข้าวของสารจาโรไซต์ หรือชั้นดินที่มีความเป็นกรดรุนแรงมาก (pH  น้อยกว่า 4.0) อยู่ที่
                       ระดับความลึกประมาณ 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางถึง
                       ต่่า กลุ่มชุดดินที่ 14 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ
                                   หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 14 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 374

                       ไร่ หรือ 2.28 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                                         3)  กลุ่มชุดดินที่ 25 เป็นกลุ่มชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูก
                       เคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก่าเนิดดินพวกตะกอนล่าน้่าทับ

                       อยู่บนชั้นหินผุ ในบริเวณที่ราบเรียบหรือค่อนข้างเรียบ มีน้่าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นกลุ่มชุดดินตื้นที่มี
                       การระบายน้่าค่อนข้างเลว มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนทราย ส่วนดินชั้นล่างเป็นดินเหนียวหรือดิน
                       ร่วนปนเหนียวที่มีลูกรังปะปนเป็นปริมาณมาก สีน้่าตาลอ่อนถึงสีเทา และพบจุดประพวกสีน้่าตาล สี
                       เหลือง หรือสีแดงปะปน หรือก้อนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีสในดินชั้นล่าง ได้ชั้นลูกรังอาจ
                       พบชั้นดินเหนียวที่มีศิลาแลงอ่อนปะปน บางแห่งอาจมีศิลาแลงอ่อนปะปนอยู่ด้วย ดินมีความอุดม

                       สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่่ามากมีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                       ประมาณ 4.5-5.5 กลุ่มชุดดินที่ 25 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ
                                        หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 25 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 1,198

                       ไร่ หรือ 7.32 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                                        4)  กลุ่มชุดดินที่ 45  เป็นกลุ่มชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่
                       กับที่หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อละเอียด หรือจากวัตถุต้นก่าเนินดินพวก
                       ตะกอนล่าน้่า บนพื้นที่ดอน ที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นจนถึงเนินเขา เป็นกลุ่มดินตื้นมาก ที่มีการระบาย

                       น้่าดี เนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวหรือดินร่วนที่มีกรวดหรือลูกรังปะปนเป็นปริมาณมาก กรวดส่วนใหญ่
                       เป็นพวกหินกรมมน หรือเศษหินที่มีเหล็กเคลือบ สีดินเป็นสีน้่าตาลอ่อน สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความ
                       อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่่า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                       ประมาณ 4.5-5.5 กลุ่มชุดดินที่ 45 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                         หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 45มี ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 9,512
                       ไร่ หรือ 58.09 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                                        5)  กลุ่มชุดดินที่ 51 เป็นกลุ่มดินที่พบในเขตฤดูฝนตกชุก เช่น ภาคใต้ ภาคตะวันออก
                       เกิดจาการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของวัตถุต้นก่าเนิดดินที่มา
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24