Page 10 - การใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         2







                       1.3 ขอบเขตการด าเนินงาน
                                 ศึกษาการใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ประกอบด้วย การปรับปรุงดินกรดด้วยปูนโดโลไมท์
                       ตามค่าวิเคราะห์ดิน การปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด (ถั่วพร้า) การใช้ปุ๋ยหมักจากสารเร่ง พด.1 ที่มี
                       การขยายเชื้อจากสารเร่งพด.3 การใช้น้่าหมักชีวภาพ (ปลาและผลไม้) จากสารเร่ง พด.2 การใช้

                       สารสกัดสมุนไพรไล่แมลงจากสารเร่ง พด.7 ร่วมกับการใช้สมุนไพรรักษาโรครากเน่าโคนเน่า (ต้น
                       มหาปราบ) ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน ปริมาณผลผลิต และผลตอบแทนทาง
                       เศรษฐกิจในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เปรียบเทียบกับระบบการปลูกที่ใช้ปุ๋ยและสารเคมี ใน
                       แปลงเกษตรกรบ้านแหลมทองหลาง หมู่ที่ 5 ต่าบลแหลมงอบ อ่าเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด เนื้อที่

                       จ่านวน 2 ไร่

                       1.4 ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินงาน
                              ระยะเวลาในการด่าเนินงาน  รวม 3  ปี เริ่มต้นเดือนตุลาคม 2557 สิ้นสุดเดือนกันยายน

                       2560
                              สถานที่ด่าเนินงาน   แปลงเกษตรกร  บ้านแหลมทองหลาง หมู่ที่ 5  ต่าบลแหลมงอบ อ่าเภอ
                       แหลมงอบ จังหวัดตราด พิกัด UTM zone 48P, 221155E 1346819N  ลักษณะดินเป็นกลุ่มชุดดินที่

                       45 ชุดดินคลองชาก (Kc) การจ่าแนกดินจัดอยู่ใน clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic
                       Typic  Kandihumults  เกิดจากวัตถุตกค้างและเศษหินเชิงเขาของหินดินดาน สภาพพื้นที่มีลักษณะ
                       ค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 1-2  เปอร์เซ็นต์  เป็นดินตื้นปนกรวดลูกรังมาก มีการระบายน้่าดี
                       เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีน้่าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                       ประมาณ 5.0  ส่วนดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวดลูกรังถึงดินเหนียวปนกรวดลูกรังมาก

                       พบชั้นลูกรังปริมาณมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์โดยปริมาตร ภายใน 50 เซนติเมตรจากผิวดิน สีพื้นเป็นสี
                       น้่าตาลปนเหลือง สีน้่าตาลแก่ และสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด มีค่าความ
                       เป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.0


                       1.5 ขั้นตอนและวิธีการด าเนินงาน
                              การศึกษาใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการปลูกทุเรียนพันธุ์หมอนทองเพื่อพัฒนาเข้าสู่
                       ระบบเกษตรอินทรีย์ ต่าบลแหลมงอบ จังหวัดตราด มีวัสดุและอุปกรณ์ ขั้นตอนและวิธีการด่าเนินงาน

                       ดังนี้
                              1.5.1 วัสดุและอุปกรณ์
                                      1) วัสดุท่าปุ๋ยหมักชีวภาพ ประกอบด้วย มูลวัว มูลเป็ด มูลไก่ มูลสุกร แกลบดิบ แกลบ
                       ด่า และเชื้อสารเร่ง พด.1

                                      2) วัสดุท่าปุ๋ยหมักชีวภาพขยายเชื้อ พด.3 ประกอบด้วย ปุ๋ยหมัก ร่าละเอียด และเชื้อ
                       สารเร่ง พด.3
                                      3) วัสดุท่าน้่าหมักชีวภาพ ประกอบด้วย ปลา สับปะรด กากน้่าตาล และเชื้อสารเร่ง
                       พด.2
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15