Page 9 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         2







                       1.3  ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินงาน

                              ด้าเนินการเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ถึงเดือน กันยายน 2558
                              สถานที่ด้าเนินการอยู่ในเขตลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร มีเนื้อที่ 1,848,469 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่
                       2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา บริเวณพื้นที่บางส่วนของอ้าเภอเทพารักษ์ อ้าเภอพระทองค้า
                       อ้าเภอขามทะเลสอ อ้าเภอคง อ้าเภอเฉลิมพระเกียรติ อ้าเภอด่านขุนทด อ้าเภอโนนไทย อ้าเภอโนนสูง

                       อ้าเภอพิมาย อ้าเภอสูงเนิน อ้าเภอเมืองนครราชสีมา และอ้าเภอสีคิ้ว นอกจากนี้ยังครอบคลุมพื้นที่
                       บางส่วนของจังหวัดชัยภูมิ คือ อ้าเภอจัตุรัส อ้าเภอบ้าเหน็จณรงค์ และอ้าเภอเนินสง่า

                       1.4  ขั้นตอนและวิธีการด าเนินงาน
                              การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินส้าหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้้า
                       ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร มีขั้นตอนและวิธีการด้าเนินงาน ตามภาพที่ 1 ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

                              ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา รวบรวมประเด็นปัญหา ก้าหนดกรอบแนวคิดการวิเคราะห์ข้อมูลกายภาพ
                       เพื่อน้ามาประกอบการวางแผนการใช้ที่ดิน ดังภาพที่ 2
                                เป็นการศึกษาวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลทางด้านกายภาพ ซึ่งประกอบด้วย
                       ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้้า ทรัพยากรป่าไม้ ร่วมกับข้อมูลทางด้านสังคม เช่น สภาพภูมิประเทศ

                       การคมนาคม การส้ารวจประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินและการท้าการเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้้า
                       โดยข้อมูลส่วนใหญ่จะใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ หลังจากนั้นน้า
                       ข้อมูลมาวิเคราะห์สภาพปัญหาที่ท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์ที่ดิน แล้วน้าข้อมูลไป

                       ประกอบการวางแผนการใช้ที่ดินต่อไป
                              ขั้นตอนที่ 2 น้าเข้าข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรด้านต่างๆ
                                เป็นการปฏิบัติงานในส้านักงานส่วนกลาง  โดยรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ
                       จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและแก้ไขข้อมูลเบื้องต้น ซึ่งข้อมูลที่ได้ท้าการรวบรวมเพื่อใช้
                       ในการจัดท้ารายงานการประเมินความเหมาะสมของที่ดินด้านกายภาพของพืชเศรษฐกิจส้าหรับวางแผน

                       การใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร แบ่งออกได้ดังนี้
                                  1. ข้อมูลที่รวบรวมจากภายนอกกรมพัฒนาที่ดินเป็นข้อมูลด้านกายภาพและ
                       สภาพแวดล้อม มีรายละเอียดประเภทข้อมูลดังนี้

                                    1.1  ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ
                                    1.2  ขอบเขตการปกครอง
                                    1.3  แผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1: 50,000
                                    1.4  แผนที่แหล่งน้้าผิวดิน และใต้ดิน

                                    1.5  แผนที่ชลประทาน ประกอบด้วย แหล่งน้้าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก
                       และเนื้อที่การเกษตร ที่ได้รับประโยชน์จากน้้าชลประทาน
                                    1.6  แผนที่ขอบเขตป่าไม้ตามกฎหมาย ประกอบด้วย เนื้อที่ป่าสงวนแห่งชาติ
                       เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ที่ยังไม่ประกาศเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ และเนื้อที่ป่าไม้

                       ของกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช
                                    1.7   แผนที่ขอบเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14