Page 8 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                                                            บทที่ 1
                                                             บทน า



                       1.1  หลักการและเหตุผล

                              ปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ลุ่มน้้ามีการเปลี่ยนแปลง ท้าให้เกิดความวิกฤต
                       หรือเสื่อมโทรมลง ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น ปัญหาภัยธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากการกระท้าของมนุษย์
                       ไม่ว่าจะเป็นการใช้ที่ดินผิดประเภท ท้าให้พืชมีการเจริญเติบโตที่ไม่เหมาะสม ผลผลิตสินค้าเกษตร

                       ไม่ได้คุณภาพ ขาดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ จนเกิดภัยธรรมชาติ เช่น สภาพน้้าท่วม
                       ภัยแล้ง และดินถล่ม
                              ลุ่มน้้าล้าเชิงไกรเป็นลุ่มน้้าสาขาของลุ่มน้้าหลักแม่น้้ามูล มีเนื้อที่ 1,848,469 ไร่ หรือร้อยละ

                       4.17 ของลุ่มน้้าหลักแม่น้้ามูล เป็นลุ่มน้้าที่มีสภาพการใช้ที่ดินไม่เหมาะสม ทรัพยากรที่ดินเสื่อมโทรม
                       โดยเฉพาะพื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นดินเค็มถึง 432,060 ไร่ รองลงมาจะเป็นพื้นที่ดินค่อนข้างเป็นทราย
                       363,236 ไร่ และพื้นที่ดินทรายจัด 33,057 ไร่ (กองส้ารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2558) ซึ่งปริมาณ
                       น้้าฝนในพื้นที่ลุ่มน้้าล้าเชิงไกรมีไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืชแล้วนั้น ยังส่งผลต่อปริมาณเกลือ

                       ในพื้นที่ดินเค็มที่มีปริมาณเกลือมากเกินไป ยิ่งท้าให้ผลิตพืชลดลง ถึงแม้จะท้าการขุดเจาะน้้าใต้ดินเพื่อ
                       แก้ไขปัญหาเหล่านี้ก็ยังพบสภาพปัญหาท้าให้น้้าในพื้นที่ดังกล่าวมีรสกร่อยและเค็ม นอกจากนี้ยังพบ
                       พื้นที่ลุ่มที่อยู่ใกล้บริเวณริมห้วย หนอง และบึง เกิดปัญหาอุทกภัย ในช่วงฤดูฝนที่ระบายน้้าไม่ทัน
                       ส่งผลต่อบ้านเรือนเกษตรกรและพื้นที่เกษตรกรรมได้รับความเสียหาย ปัญหาความเสื่อมโทรม

                       ทรัพยากรต่างๆ บริเวณพื้นที่ลุ่มน้้านับวันจะรุนแรงขึ้นตามจ้านวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต
                       และการขยายตัว ของการพัฒนาในสาขาต่างๆ ที่มีความต้องการใช้ทรัพยากรมากขึ้น โดยขาด
                       มาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจ้าเป็นต้องมีการแก้ไข
                       ด้วยการด้าเนินงานจัดการทรัพยากรธรรมชาติในลุ่มน้้าให้เกิดประโยชน์ในลักษณะผสมผสาน ระหว่าง

                       ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ทั้งในด้านการพัฒนาการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ
                              ดังนั้น การศึกษาปัจจัยที่จะน้าไปประกอบการวางแผนการใช้ที่ดินนั้น จ้าเป็นอย่างยิ่ง ที่จะ
                       ศึกษาถึงปัจจัยทางกายภาพซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ส้าคัญ จากสาเหตุที่ทรัพยากรลุ่มน้้าเปลี่ยนแปลงสภาพไป

                       การศึกษาปัจจัยทางกายภาพ ในแต่ละด้าน เช่น ด้านทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้้าทรัพยากรป่าไม้ และข้อมูล
                       ทางด้านสังคม เพื่อน้ามาวิเคราะห์ร่วมกับการจัดชั้นความเหมาะสมของคุณภาพที่ดินก่อนจะน้าไปประกอบการ
                       วางแผนการใช้ที่ดินให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลตรงตามคุณลักษณะของพื้นที่เมื่อด้าเนินการ
                       ส่งเสริมและจัดท้าเขตการใช้ที่ดิน จะได้มีขอบเขตการพัฒนาด้านการเกษตร สามารถแก้ไขปัญหาการใช้ที่ดิน
                       ให้เหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน อย่างยั่งยืนต่อไป


                       1.2  วัตถุประสงค์

                              1) เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไป ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร ให้สามารถน้าไปจัดชั้นความ
                       เหมาะสมของคุณภาพที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้้าได้
                              2) เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหา ปัจจัยทางด้านกายภาพและการประเมินคุณภาพที่ดินไป

                       ประกอบการวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกรได้
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13