Page 139 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 139

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      109








                       ยึดธาตุอาหารรองลงมาคือชั้นดินที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ข้อจ ากัดของชุดดินนี้คือ สภาวะการ
                       หยั่งลึกของราก ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ซึ่งดินส่วนใหญ่
                       เป็นดินค่อนข้างเป็นทรายและดินทรายจัด จึงท าให้ต้องเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ส าหรับดินที่ไม่มี
                       ความเหมาะสม (N)  ตรงตามความต้องการของพืชไม่สามารถเจริญเติบโตได้จะเป็นกลุ่มชุดดินนา

                       ที่มีการระบายน้ าเลวและดินตื้นมาก ท าให้ มันส าปะหลังไม่สามารถเจริญเติบโต และจะได้รับความ
                       เสียหายถ้ามีน้ าท่วมขังเป็นเวลานาน
                                  (3)   ข้าวโพดเลี ยงสัตว์ คุณภาพที่ดินส าหรับปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีศักยภาพอยู่ใน
                       ระดับชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2)  มากที่สุด พบบริเวณอ าเภอเทพารักษ์ อ าเภอด่านขุนทด

                       อ าเภอขามทะเลสอ และอ าเภอพระทองค า ลักษณะดินที่พบเป็นดินดอนและกลุ่มดินลุ่มที่ยกร่อง
                       ขนาดเท่าหลังเต่าปลูกพืชไร่ (M4) ซึ่งมีข้อจ ากัดความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ความเป็นประโยชน์
                       ของธาตุอาหารความจุในการดูดยึดธาตุอาหารรองลงมาคือชั้นดินที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3)
                       ข้อจ ากัดของชุดดินนี้คือ สภาวะการหยั่งลึกของราก และความเสียหายจากการกัดกร่อนอยู่ที่ความ

                       ลาดชัน 12-20% ส าหรับดินที่ไม่มีความเหมาะสม (N) ส่วนใหญ่จะเป็นดินลุ่มท านา และดินตื้น ดังนั้น
                       ในการก าหนดเขตการใช้ที่ดินควรพิจารณาให้ ปลูกในดินที่มีการระบายน้ าดี มีความลาดชันน้อยกว่า 12-20%
                                  (4)   อ้อยโรงงาน คุณภาพที่ดินส าหรับปลูกอ้อยโรงงานมีศักยภาพอยู่ในระดับชั้น

                       ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มากที่สุด พบบริเวณอ าเภอเทพารักษ์ อ าเภอด่านขุนทด อ าเภอขามทะเลสอ
                       และอ าเภอโนนไทย ลักษณะดินที่พบเป็นดินดอนและกลุ่มดินลุ่มที่ยกร่องขนาดเท่าหลังเต่าปลูกพืชไร่ (M4)
                       ซึ่งมีข้อจ ากัดความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ซึ่งอ้อยโรงงานเป็นอ้อยต้นฝนที่ต้องใช้ปริมาณน้ าฝน
                       1,600–2,500 มิลลิเมตร จะจัดอยู่ในระดับชั้นความเหมาะสมสูง (S1) แต่ปริมาณน้ าฝนของลุ่มน้ า
                       ล าเชิงไกร มีปริมาณ 1,081.41  มิลลิเมตร  ซึ่งท าให้เป็นข้อจ ากัดชั้นดินที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3)

                       มากที่สุด เนื้อที่รองลงมา ดินที่ไม่มีความเหมาะสม (N) เพราะดินลุ่มน้ าล าเชิงไกรเป็นดินที่มีปัญหา
                       ดินทราย ดินค่อนข้างเป็นทราย ดินตื้น และดินลุ่มที่ท านา ดังนั้นควรเพิ่มแนวทางการปรับปรุงบ ารุงดิน
                       ร่วมกับการก าหนดเขตการใช้ที่ดิน
                                2) ชั นความเหมาะสมในเขตพื นที่ที่มีการใช้น ้าจากแหล่งน ้าชลประทาน แหล่งน ้า

                       ตามธรรมชาติ หรือแหล่งน ้าใต้ดิน เพื่อน ามาปลูกพืชหลังนา เช่น ข้าวนาปรังและปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                                  (1)   ข้าวนาปีตามด้วยข้าวนาปรัง คุณภาพที่ดินส าหรับปลูกข้าวนาปีตามด้วย
                       ข้าวนาปรัง อยู่ในระดับชั้นเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 3,948 ไร่ พบบริเวณโครงการอ่างเก็บน้ าล าเชิงไกร

                       อ าเภอโนนไทย อ่างเก็บน้ าห้วยปราสาท อ าเภอด่านขุนทด และเนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีปริมาณน้ า
                       เพียงพอและอยู่ในเขตชลประทาน ซึ่งจะท าให้มีชั้นความเหมาะสมสูง ดังนั้น เมื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดิน
                       ควรค านึงปริมาณน้ าที่ข้าวนาปรังต้องการใช้ อาจไม่สอดคล้องกับปริมาณน้ าในอ่างเก็บน้ า ซึ่งควร
                       ปรับเปลี่ยนเป็นพืชอื่นมากว่าข้าวนาปรัง เช่น แตงโม ฟักทอง ถั่วลิสง เป็นต้น ที่มีการใช้น้ าน้อยกว่า
                       ข้าวนาปรัง

                                  (2)   ข้าวนาปีตามด้วยข้าวโพดเลี ยงสัตว์ คุณภาพที่ดินส าหรับปลูกข้าวนาปีตาม
                       ด้วยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อยู่ในระดับชั้นเหมาะสมสูง (S1) พบบริเวณอ าเภอเทพารักษ์ อ าเภอด่านขุนทด
                       อ าเภอขามทะเลสอ และอ าเภอพระทองค า เนื่องจากบริเวณดังกล่าวอยู่ในพื้นที่ดินดอนและดินลุ่มที่มี

                       การจัดการดิน มีการระบายน้ าดี มีการใช้น้ าบาดาลเข้าช่วยในการที่พืชต้องการเจริญเติบโต ดังนั้น
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144