Page 137 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 137

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      107








                       เป็นจ านวนมาก หากไม่มีการควบคุมหรือจัดสรรโซนนิ่งให้กับพื้นที่โรงงานคุณภาพน้ าผิวดินอาจเกิด
                       ผลกระทบ ในด้านการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเกษตรของกรมชลประทาน ซึ่งมีโครงการชลประทาน
                       ขนาดกลางจ านวน 3 โครงการ และโครงการขนาดเล็กอีก 76 โครงการ มีทั้งเป็นอ่างเก็บน้ า ฝาย และ
                       ท านบ นอกจากนี้กรมทรัพยากรน้ าบาดาล (2558) ยังได้ขุดเจาะบ่อบาดาลเพื่อใช้อุปโภคบริโภคเพื่อ

                       การเกษตร เพิ่มเติมในช่วงฤดูแล้ง แต่ต้องมีการชี้แจงให้กับเกษตรกรถึงคุณภาพน้ าที่ได้อาจมีรสชาด
                       กร่อย หรือหากขุดในความลึกที่มากเกินไปอาจส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายดินเค็มได้
                                4) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ าฝนของลุ่มน้ า
                       สาขาล าเชิงไกร เป็นพื้นที่ที่มีผลกระทบในเรื่องภูมิอากาศเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะปริมาณน้ าฝนที่ตกไม่

                       เพียงพอ จึงส่งผลต่อการท าการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ าล าเชิงไกร ฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือน
                       พฤษภาคม เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนน้อยกว่า 160 มิลลิเมตร อาจส่งผลให้เกิดภาวะภัยแล้งช่วงฤดูฝน
                       ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนอยู่ระหว่าง 50-280 มิลลิเมตร
                       ปริมาณน้ าที่มีมากบวกกับการที่เป็นช่วงฤดูกาลที่มีฝนตกต่อเนื่องอาจส่งผลกระทบต่อการเกษตร

                       ท าให้เกิดน้ าท่วมขังได้ ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์ มีปริมาณน้ าฝนน้อยกว่า
                       30 มิลลิเมตร เป็นช่วงที่มีการคายระเหยของน้ ามาก ส่งผลให้ปริมาณน้ าที่มีอยู่เริ่มลดปริมาณลงเรื่อยๆ
                       จึงต้องมีการวางแผนในการปลูกพืชโดยควรเลือกส่งเสริมการปลูกพืชที่ใช้ปริมาณน้ าน้อย จะส่งผลดีไม่

                       เสี่ยงต่อการขาดน้ าและลดต้นทุนการผลิตได้
                                5) การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน สภาพการใช้ที่ดินลุ่มน้ าล าเชิงไกร ตั้งแต่ปี
                       2550 ถึงปี 2558 ระยะเวลา 8 ปีนั้นพบว่า พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ชุมชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งท า
                       ให้เห็นว่าเกษตรกรมีการขยายตัวของการใช้ประโยชน์ที่ดินจากพื้นที่เกษตรกรรมและ พื้นที่อยู่อาศัยที่
                       มีเนื้อที่ เมื่อปี 2550 จ านวน 1,676,159 ไร่  มีการขยายตัวของการสร้างที่อยู่อาศัยและการเกษตร

                       เพิ่มขึ้นถึง 95,376 ไร่ ณ ปี พ.ศ. 2558 หรือคิดเป็นร้อยละของการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่เดิม ร้อยละ
                       1.72 ซึ่งสวนทางกับพื้นที่ป่าไม้ และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ที่มีเนื้อที่ลดลงถึง 22,480 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ
                       ของการเปลี่ยนแปลงเนื้อที่เดิม ร้อยละ 18.96 ซึ่งข้อมูลการเปลี่ยนแปลงนี้ควรน าไปประกอบการ

                       ก าหนดเขตการใช้ที่ดิน เพื่อพิจารณาพื้นที่เสี่ยงต่อการบุกรุกและการขยายตัวโดยเฉพาะพื้นที่ป่า
                       สมบูรณ์ต่อไป
                                6) ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในเขตพื้นที่น้ าฝน พบว่าผลผลิตข้าวนาปีของ
                       เกษตรกรลดลง จากที่เคยได้ผลผลิต 500 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ฤดูกาลปี 2558  ผลผลิตลดลงเหลือ

                       200-300 กิโลกรัมต่อไร่ ในพื้นที่ดินเค็มบางบริเวณของอ าเภอโนนไทย อ าเภอพระทองค า อ าเภอด่านขุนทด
                       นอกจากนี้ยังมีประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินอื่นๆ ที่เกษตรกรหันมาปลูกทดแทนพืชหลังนาที่ใช้
                       ปริมาณน้ าน้อย คือ มันส าปะหลัง ถึงแม้จะใช้ระยะเวลาเพียง 5 เดือน โดยเริ่มปลูกปลายเดือน
                       ธันวาคม เก็บเกี่ยวเดือนพฤษภาคม สาเหตุที่เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดนี้เนื่องจากเป็นพืชที่ทนสภาพ

                       แห้งแล้งได้ และใช้ปริมาณน้ าน้อย การดูแลรักษาง่าย แต่ผลผลิตที่ได้จะมีผลกระทบในเรื่องของ
                       เปอร์เซ็นต์แป้งของมันส าปะหลัง ไม่ตรงเกณฑ์มาตรฐาน จึงท าให้ราคามันส าปะหลังลดลงจากราคา
                       ท้องตลาดโดยทั่วไป แต่พื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นดินดอน และดินไร่ในลุ่มน้ าล าเชิงไกรก็มีพื้นที่ปลูก
                       มันส าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และอ้อยโรงงาน พืชเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศ

                       ท าให้ผลผลิตต่อไร่ลดลงเช่นกัน เมื่อปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2558 สภาพภัยแล้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุ่มน้ า
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142