Page 138 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 138

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      108








                       ล าเชิงไกร โดยเฉพาะปริมาณน้ าฝนที่ไม่เพียงพอต่อการท าการเกษตรท าให้ผลผลิตของพืชไร่ในพื้นที่
                       ลุ่มน้ าล าเชิงไกร ลดลงจากปีที่ผ่านมาเป็นจ านวนมาก
                                7) ทรัพยากรป่าไม้ ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาล าเชิงไกรจะพบว่าสัดส่วนของเขตพื้นที่ป่าไม้
                       ตามกฎหมาย ต่อพื้นที่เกษตรกรรมมีสัดส่วนที่แตกต่างกัน คือ เขตพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย มีเนื้อที่

                       37,159  ไร่ พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 1,811,310 ไร่ พบว่าสัดส่วนของพื้นที่ป่าไม้ที่เหมาะสมต่อ
                       การเกษตร มีเนื้อที่มากกว่า พื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย และสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินพบว่าพื้นที่
                       ป่าผลัดใบรอสภาพฟื้นฟู มีเนื้อที่ 30,284  ไร่ พื้นที่ป่าผลัดใบสมบูรณ์ มีเนื้อที่ 8,999 ไร่ ซึ่งมีเนื้อที่
                       มากกว่าป่าสมบูรณ์ ถึง 21,285 ไร่ นอกจากนี้จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้

                       ประโยชน์ที่ดินของพื้นที่ป่าไม้ ก็พบว่าพื้นที่ป่าไม้ทั้งป่ารอสภาพฟื้นฟู และป่าผลัดใบสมบูรณ์ มีจ านวนลดลง
                       เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปท าการเกษตรกรรม และการสร้างชุมชนและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ
                       จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่ และประชากรในพื้นที่ควรช่วยกันรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
                       โดยการปลูกป่าเพิ่มเติม ให้เป็นแหล่งต้นน้ า และมีมาตรการอนุรักษ์พื้นที่ป่าในชุมชนให้อย่างยั่งยืนมากขึ้น

                            5.1.2 การประเมินคุณภาพที่ดิน
                                จากการประเมินคุณภาพที่ดิน พบว่า พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกพืชแต่ละชนิดโดย
                       พิจารณาจาก คุณสมบัติดิน ปริมาณน้ าฝน และความต้องการเจริญเติบโตของพืชแต่ละชนิด และแบ่ง

                       ออกเป็น 2  เขต คือ  เขตใช้น้ าฝน เขตใช้น้ าชลประทานและพื้นที่เกษตรใช้น้ าจากแหล่งน้ าตาม
                       ธรรมชาติหรือแหล่งน้ าใต้ดิน กลุ่มประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินทั้ง  2  เขต เป็นพืชตัวอย่างที่น ามา
                       พิจารณาชั้นความเหมาะสมตามศักยภาพ ของเนื้อที่ลุ่มน้ า โดยพื้นที่ลุ่มน้ ามีเนื้อที่ทั้งหมด 1,848,469 ไร่
                       ซึ่งสามารถสรุปเนื้อที่ที่มีศักยภาพตามชั้นความเหมาะสมในระดับต่างๆ ดังนี้
                                1) ชั นความเหมาะสมในเขตพื นที่เกษตรใช้น ้าฝน เมื่อพิจารณาคุณสมบัติดินแล้วพบ

                       สภาพปัญหาและข้อจ ากัด  ในการปลูกข้าวนาปี มันส าปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และอ้อยโรงงาน
                       ซึ่งควรน าข้อจ ากัดเหล่านี้ไปพิจารณาในการจัดเขตการใช้ที่ดิน ดังนี้
                                  (1)   ข้าวนาปี คุณภาพที่ดินส าหรับปลูกข้าวนาปีมีศักยภาพอยู่ในระดับชั้นความ

                       เหมาะสมปานกลาง (S2) มากที่สุด พบบริเวณอ าเภอโนนไทย อ าเภอด่านขุนทด ลักษณะดินที่พบเป็น
                       ดินลุ่มและดินดอนที่น ามาจัดการโดยปั้นคันนา (M3) เนื่องจากติดข้อจ ากัดในเรื่องของความชุ่มชื้นที่
                       เป็นประโยชน์ต่อพืช หมายถึง ปริมาณน้ าฝนไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตหากพืชได้รับน้ า ชั้นความ
                       เหมาะสมในการปลูกพืชจะถือว่าอยู่ในชั้นความเหมาะสมสูง (S1) และยังมีข้อจ ากัดในเรื่องความเป็น

                       ประโยชน์ของธาตุอาหารความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร รองลงมาคือชั้นดินที่มีความเหมาะสม
                       เล็กน้อย (S3) จะเป็นข้อจ ากัดในเรื่องของการมีปริมาณเกลือมากเกินไป และนอกจากนี้จะเป็น
                       คุณสมบัติดินที่ไม่มีความเหมาะสม (N) ตรงตามความต้องการของพืชไม่สามารถเจริญเติบโตได้จะเป็น
                       กลุ่มชุดดินดอน และดินลุ่มที่ยกร่องปลูกไม้ผล (M2)  กลุ่มดินลุ่มที่ยกร่องขนาดเท่าหลังเต่าปลูกพืชไร่
                       (M4) ซึ่งข้อมูลการจัดชั้นความเหมาะสมเหล่านี้จะน าไปจัดท าเป็นเขตเกษตรเร่งรัดพัฒนา

                                  (2)   มันส้าปะหลัง คุณภาพที่ดินส าหรับปลูกมันส าปะหลังมีศักยภาพอยู่ในระดับชั้น
                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มากที่สุด พบบริเวณอ าเภอด่านขุนทด อ าเภอขามทะเลสอ และอ าเภอ
                       พระทองค า ลักษณะดินที่พบเป็นดินดอนและกลุ่มดินลุ่มที่ยกร่องขนาดเท่าหลังเต่าปลูกพืชไร่ (M4)

                       ซึ่งมีข้อจ ากัดความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารความจุในการดูด
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143